Page 55 - EBOOK-TRON_2018
P. 55
ความสำาคัญและความเป็นมา วัตถุประสงค์
การท่องเที่ยวอารยธรรมล้านนามีแนวโน้มเติบโตขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยจังหวัดเชียงรายมีศักยภาพเป็นจุดเชื่อมต่อ 1. เพื่อศึกษาศักยภาพการเป็นจุดเชื่อมโยงการท่องเที่ยวอารยธรรมล้านนาของจังหวัดเชียงรายกับประเทศ
การท่องเที่ยวอารยธรรมล้านนาใน 8 จังหวัดภาคเหนือและเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้าน ทั้งสปป.ลาว เมียนมาร์ เพื่อนบ้าน
และจีนตอนใต้ที่มีที่มีสายสัมพันธ์ของกลุ่มเมืองที่เรียกว่า ห้าเชียง ได้แก่ เชียงใหม่ เชียงราย เชียงรุ่ง (สิบสอง 2. เพื่อพัฒนาแผนการตลาดและสื่อประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวอารยธรรมล้านนาของจังหวัดเชียงรายเชื่อมโยง
ปันนา) เชียงตุง และเชียงทอง (หลวงพระบาง) ดังนั้นจึงจำาเป็นต้องค้นหาแนวทางการทำาให้เชียงรายมีจุดดึงดูดใจ กับกลุ่มจังหวัดล้านนาและแหล่งอารยธรรมล้านนาในประเทศเพื่อนบ้าน
ที่น่าสนใจและสอดคล้องกับพฤติกรรมการท่องเที่ยว รวมถึงมีคุณภาพและมาตรฐานทางการท่องเที่ยวที่เป็นสากล 3. เพื่อจัดทำาข้อเสนอแนะที่เป็นแนวทาง/ข้อเสนอเชิงนโยบาย การวางผังเมือง โลจิสติกส์การท่องเที่ยว และ
สามารถรองรับนักท่องเที่ยวจากนานาชาติได้และเชื่อมโยงความเป็นอารยธรรมล้านนาทั้งในด้านประวัติศาสตร์ เส้นทางการท่องเที่ยวอารยธรรมล้านนาในจังหวัดเชียงรายเชื่อมโยงกับกลุ่มจังหวัดอารยธรรมล้านนาและ
วัฒนธรรม อัตลักษณ์ ฯลฯ รวมถึงการสนับสนุนระบบโลจิสติกส์ที่เหมาะสมสำาหรับการเชื่อมโยงจากเชียงรายสู่ แหล่งท่องเที่ยวอารยธรรมล้านนาในประเทศเพื่อนบ้าน และ
พื้นที่อื่นๆ ในห้าเชียง เป็นลำาดับต่อไป 4. เพื่อจัดทำาแนวทางการยกระดับจังหวัดเชียงรายให้เป็นจุดเชื่อมโยงการท่องเที่ยวอารยธรรมล้านนา
การประชุมขับเคลื่อนการพัฒนาการท่องเที่ยวเมืองเก่า
เชียงแสนอย่างยั่งยืนและเป็นจุดเชื่อมโยงการท่องเที่ยว การส่งมอบผลกงานวิจัยให้กับ อพท. และ สมาคมธุรกิจท่องเที่ยว
การประชุมความร่วมมือด้านเส้นทางการท่อง อารยธรรมล้านนา จัดโดย อพท. สมาคมธุรกิจท่องเที่ยว จังหวัดเชียงราย วันที่ 15 มิถุนายน 2561 ณ เอ สตาร์ รีสอร์ท
เที่ยวและไมซ์เส้นทาง GMS / LMC (เชียงราย จังหวัดเชียงราย และทีมวิจัย ระหว่างวันที่ 30-31 มีนาคม อำาเภอเมือง จังหวัดเชียงราย
เมียนมาร์ จีนตอนใต้ และสปป.ลาว) Thailand 2561 ณ อำาเภอเชียงแสน
MICE Seminar on SEZ 2017 (TMMS)
@ Chiang Rai ระหว่างวันที่ 19-21
กรกฎาคม 25960 ณ โรงแรม A-Star
จังหวัดเชียงราย (จัดโดย สสปน/TCEB)
จุดเด่น การนำาผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
งานวิจัยนี้ได้ค้นพบอัตลักษณ์ทางการท่องเที่ยวของจังหวัดเชียงรายที่เกี่ยวข้องกับแม่น้ำา ในระหว่างการดำาเนินการวิจัยสมาคมธุรกิจท่องเที่ยวจังหวัด
โขง ประเพณีตุง แหล่งเมี่ยง/ชาอัสสัม วิถีชีวิตกลุ่มชาติพันธุ์ที่หลากหลายและเชื่อม เชียงรายใช้เป็นข้อมูลประกอบการจัดประชุมขับเคลื่อน
โยงกับจังหวัดในภาคเหนือและประเทศเพื่อนบ้านในกลุ่มเมืองห้าเชียง ที่นำาไปสู่การ Chiang Rai MICE City ในการสัมมนาเชิงปฏิบัติการในพื้นที่เขต
กำาหนดตำาแหน่งทางการตลาดของผลิตภัณฑ์ให้จังหวัดเชียงรายเป็น “จุดหมายแห่งการ เศรษฐกิจ ระหว่างวันที่ 19 – 21 กรกฎาคม 2560 ณ โรงแรม
สัมผัสประสบการณ์อารยธรรมล้านนาแบบหลากหลาย (Chiang Rai: Varity of Lanna A-Star (จัดงานโดย สสปน/TCEB) และภายหลังการดำาเนินการ
Experience Destination)” และพบอีกว่าแนวทางการยกระดับจังหวัดเชียงรายให้เป็นจุด วิจัยแล้วเสร็จ ทีมวิจัยฯ ได้ร่วมกับองค์การบริหารการพัฒนา
เชื่อมโยงการท่องเที่ยวอารยธรรมล้านนา แบ่งออกเป็นมิติเจ้าบ้านแบบมืออาชีพซึ่งจะ พื้นที่พิเศษฯ (อพท.) และเครือข่ายประชาสังคมเชียงแสน
ต้องยกระดับการท่องเที่ยวสากล 5 ด้าน การกำาหนดผังเมืองแบบSMART CITY รวมทั้ง จัดกิจกรรมขับเคลื่อนพื้นที่เมืองเก่าเชียงแสนให้เป็นจุดเชื่อม
การสร้าง “มาตรฐานคุณภาพงานบริการในแหล่งท่องเที่ยว” แบ่งออกเป็นประเภทของ โยงการท่องเที่ยวอารยธรรมล้านนา ตลอดจนสมาคมธุรกิจ
งานบริการ มีจำานวน 19 ประเภท และตัวชี้วัดคุณภาพ จำานวน 26 ตัวแปร ในขณะที่ผู้ ท่องเที่ยวจังหวัดเชียงรายใช้ข้อมูลในการจัดทำายุทธศาสตร์
มาเยือนที่มีแนวโน้มเป็นแบบ FIT ขึ้น ซึ่งต้องยกระดับโลจิสติกส์ทางการท่องเที่ยวทั้ง ของสมาคมฯ
ด้านข้อมูลข่าวสาร กายภาพ และการเงิน ตามลำาดับ
55 | Thailand Research Expo 2018