Page 59 - EBOOK-TRON_2018
P. 59

ความสำาคัญและความเป็นมา                                             จุดเด่น


 เสน่ห์ของนิราศอย่างหนึ่ง คือการบรรยายการเดินทางของกวีที่ไปยังที่ต่างๆ กวีมักชี้ชวนให้ผู้อ่านได้เห็นไปตาม  นิราศพระประธมของสุนทรภู่ในฐานะทุนทางวัฒนธรรม สามารถนำามาใช้ในการพัฒนาการท่องเที่ยวได้ 5 มิติ

 สายตาที่กวีเห็น นิราศพระประธมของสุนทรภู่ก็เช่นกัน แต่ความวิเศษของนิราศเรื่องนี้ได้ทวีขึ้นไปอีกเพราะกวี   ปรากฏดังนี้

 ทผู้เล่าที่ชื่อ  “สุนทรภู่”  นั้น  เป็นกวีผู้มีที่ความสามารถในการเลือกใช้คำาเพื่อถ่ายทอดและบันทึกภาพที่    1. เส้นทาง (เช่น การจัดเส้นทาง 1 วัน หรือไหว้พระ 9 วัด ตามเส้นทางที่สุนทรภู่เดินทาง)
 “ตาเห็น” นั้นได้ดุจกล้องถ่ายภาพ ทั้งยังส่งผ่านอารมณ์ความรู้สึก เล่าเกร็ดความรู้ ประสบการณ์ต่างๆ เสมือน  2. อาหาร (เช่น อาหารจีน พะโล้)

 เป็น “มัคคุเทศก์” พาผู้อ่านไปเที่ยวได้อย่างสนุกสนานและออกรส ด้วยเหตุดังนี้ การนำานิราศพระประธม  3. กิจกรรม (เช่น ดูนก ถักเชือก หรือรูปแบบการเดินทาง เช่น พายเรือ ขี่ม้า)

 ของสุนทรภู่ มาประยุกต์ใช้ในการท่องเที่ยว จึงเป็นสิ่งที่ทำาได้ไม่ยาก และจะช่วยกระตุ้น และส่งเสริมตลอดจน   4. ของฝาก (“ขนมเสบียงสุนทรภู่” หรือ ตุ๊กตาควายโยง, นำากลอนมาติดฉลาก OTOP)

 เพิ่มมูลค่าให้แก่การท่องเที่ยวในท้องถิ่นที่สุนทรภู่เดินทางผ่านให้เพิ่มมากยิ่งขึ้นด้วย  5. วันเวลาเดินทาง (เทศกาลท่องเที่ยว วันที่ระลึกการเดินทางของสุนทรภู่)





 วัตถุประสงค์                                                        การนำาผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์


 เพื่อเป็นแนวทางในการจัดการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์หรือเชิงแนวคิดได้ และ บูรณาการกับประวัติศาสตร์และ  ทุนทางวัฒนธรรมที่ปรากฏดังกล่าวสามารถนำามาบูรณาการให้เข้ากับการท่องเที่ยวได้จริงอย่างเป็นรูปธรรม

 วัฒนธรรมท้องถิ่นของชุมชนที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนสร้างความเข้าใจและถ่ายทอดองค์ความรู้สู่ชุมชนดังกล่าว    พร้อมนำาเสนอ “นิราศพระประธม” ในฐานะเรื่องเล่าประกอบการเดินทาง โดยแบ่งเส้นทางได้เป็น 3 ภาคคือ

 อันจะช่วยในการให้คุณค่าและความหมายแก่แหล่งท่องเที่ยวที่มีอยู่เดิม และเกิดแหล่งท่องเที่ยวใหม่ในชุมชน    ภาคธนบุรี (กรุงเทพฯ) - คลองบางใหญ่ (นนทบุรี) ภาคคลองบางใหญ่ (นนทบุรี) - คลองโยง (นครปฐม) และ

 นำามามาสู่การสร้างงานและรายได้ ตลอดจนคุณภาพชีวิตที่ดีในที่สุด       ภาคคลองโยง (นครปฐม) - นครชัยศรี (นครปฐม) ทั้งนี้ผู้วิจัยได้เสนอรูปแบบการจัดการท่องเที่ยวโดยใช้
                                                                     เรื่องนิราศพระประธมของสุนทรภู่เป็นแกนหลักในการเล่าเรื่อง เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่รายการการท่องเที่ยวใน

                                                                     พื้นที่จังหวัดนครปฐม นนทบุรี และกรุงเทพมหานคร ทำาให้เกิดการให้คุณค่าและความหมายแก่แหล่งท่องเที่ยว
                                                                     ที่มีอยู่เดิม อนุรักษ์ภูมิปัญญาในชุมชน และเกิดแหล่งท่องเที่ยวใหม่ในชุมชน นำามามาสู่การสร้างงานและรายได้

                                                                     ตลอดจนคุณภาพชีวิตที่ดี





































































 มหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2561  |  58                                                                                                            59  |  Thailand Research Expo 2018
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64