Page 86 - EBOOK-TRON_2018
P. 86

ความสำาคัญและความเป็นมา


                                                                     “มันสำาปะหลัง” เป็นพืชเศรษฐกิจที่สำาคัญสามารถแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ได้ทั้งอาหารและพลังงาน ประเทศไทย

                                                                     สามารถผลิตมันสำาปะหลังเพื่อการส่งออกเป็นอันดับหนึ่งของโลก แต่ราคามันสำาปะหลังผันผวนไปตามตลาด

                                                                     การเพิ่มช่องทางการตลาด โดยเฉพาะการแปรรูปเป็นอาหาร หากผลิตแบบอินทรีย์ สามารถนำาแป้งออร์แกนิค

                                                                     ไปผลิตเป็นอาหารสำาหรับเด็กทารก และผู้สูงอายุ ซึ่งเป็นที่นิยมในแถบยุโรปและอเมริกา ซึ่งในปัจจุบันตลาดแป้งมัน
                                                                     สำาปะหลังอินทรีย์เพื่อนำาไปแปรรูปยังมีความต้องการสูงและเป็นตลาดที่มีศักยภาพ ความต้องการแป้งมัน

                                                                     สำาปะหลังอินทรีย์ของตลาดยุโรปและอเมริกาอยู่ที่ 20,000 ตันต่อปี คิดเป็นมันสำาปะหลังหัวสด 80,000 ตัน

                                                                     จะต้องมีพื้นที่ปลูกมันสำาปะหลังอินทรีย์ประมาณ 22,850 ไร่ แต่การผลิตมันสำาปะหลังอินทรีย์ในประเทศไทยยังไม่มี

                                                                     จึงยังมีโอกาสและช่องทางของการทำาตลาดแป้งมันออร์แกนิคสูง เพราะประเทศไทยเป็นประเทศที่มีกำาลังการผลิต
                                                                     มันสำาปะหลังเป็นอันดับ 2 ของโลก แต่ยังเป็นระบบการผลิตที่ใช้สารเคมี จึงต้องมีการใช้เทคโนโลยีการผลิตจาก

                                                                     กรมวิชาการเกษตร พร้อมยังประสบปัญหาความผันผวนของราคาผลผลิต พร้อมยังประสบปัญหาความผันผวน

                                                                     ของราคาผลผลิต ดังนั้นแนวทางการผลิตมันสำาปะหลังอินทรีย์ซึ่งมีตลาดรองรับที่มั่นคง คือโรงงานแป้งมันอุบล

                                                                     เกษตรพลังงาน ในเครือบริษัท อุบล ไบโอ เอทานอล (มหาชน) จะสามารถช่วยให้เพิ่มมูลค่าผลผลิตให้กับเกษตรกร
                                                                     ลดการผันผวนด้านราคา เนื่องจากได้ราคาที่แน่นอน และลดพื้นที่การใช้สารเคมีกำาจัดศัตรูพืชได้อย่างยั่งยืน























                                                                                                                                                                                                                                                                                                              การนำาผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์


                                                                                                                                                                                                                                                                                                              1. เกษตรกรได้นำารูปแบบการผลิตมันสำาปะหลังอินทรีย์ไปขยาย


          วัตถุประสงค์                                                                                                             จุดเด่น                                                                                                                                                                       ผลในพื้นที่ใกล้เคียงจากเดิมเกษตรกรผลิต 9 รายพื้นที่ 30 ไร่
                                                                                                                                                                                                                                                                                                                 ใน 4 อำาเภอ ปัจจุบันขยายเป็น 491 รายพื้นที่ 3,199 ไร่ ใน

          1. เพื่อศึกษาเปรียบเทียบต้นทุนการผลิตมันสำาปะหลังในระบบการผลิตแป้งมันสำาปะหลังอินทรีย์ตลอดห่วงโซ่                        1. ต้นแบบการผลิตแป้งมันสำาปะหลังอินทรีย์ตลอด                                                                                                                                  9 อำาเภอ ของจังหวัดอุบลราชธานี

             อุปทานการผลิตโดยเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มเกษตรกรที่ผ่านการรับรองและกลุ่มเตรียมความพร้อมเข้าสู่                             โซ่อุปทานตั้งแต่เกษตรกรต้นน้ำาไปจนถึง                                                                                                                                   2. เกษตรกรและผู้ประกอบการได้รับมาตรฐานอินทรีย์ USDA NOP

             มาตรฐาเกษตรอินทรีย์                                                                                                      ผู้ประกอบการทำาให้เกิดระบบการผลิตที่น่าเชื่อถือ                                                                                                                            EU และมกษ 90002-2559 (Organic Thailand) ทำาให้สินค้า
          2. เพื่อศึกษาเปรียบเทียบวิธีปฏิบัติและโครงสร้างต้นทุนกิจกรรมในระบบห่วงโซ่อุปทานและระบบโลจิสติกส์ของ                         ต่อคู่ค้าด้านปริมาณต่อเกษตรกรด้านราคา ระบบ                                                                                                                                 เป็นที่ยอมรับของตลาดปลายทาง

             แป้งมันสำาปะหลังอินทรีย์โดยเปรียบเทียบระหว่างการส่งออกแป้งมันสำาปะหลังอินทรีย์ไปยังตลาดยุโรปกับ                          การผลิตมีความยั่งยืน

             ตลาดสหรัฐอเมริกา                                                                                                      2. เกษตรกรสามารถเข้าสู่ระบบอินทรีย์โดยใช้
          3. เพื่อพัฒนาและยกระดับกลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกมันสำาปะหลังอินทรีย์เข้าสู่การรับรองมาตรฐานการผลิตมันสำาปะหลัง                    เทคโนโลยีที่ทดแทนการใช้ในระบบเคมีโดยที่

             อินทรีย์ในระบบ USDA NOP หรือ EU Organic                                                                                  ผลผลิตไม่มีความแตกต่างแต่สามารถขายได้

                                                                                                                                      ราคาและกำาไรสูงกว่าเดิม ทำาให้มีการขยายพื้นที่

                                                                                                                                      ปลูกเพิ่มขึ้น









                    มหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2561  |  86                                                                                                                                                                                                                                                                                         87  |  Thailand Research Expo 2018
   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91