Page 201 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การดูสภาพจิต
P. 201

721
ในใจของเรา ในสมองของเรา ที่เราคิดไม่ออก เพราะอะไรก็ไม่รู้ สุมแล้วปิดไว้หมด ปิดอยู่หมดเลย บางที ก็วน ๆ ๆ ลองดู ยังไม่ต้องรีบคลายออกไปก่อน ปล่อยให้ว่างให้เบาให้เหลือเรื่องนั้น แล้วก็น้อมระลึกถึง ลองดูว่าได้ผลไหม รู้สึกอย่างไร อันนี้ลองพิสูจน์ดู นี่คือสิ่งที่เราปฏิบัติ
ที่อยากให้ผู้ปฏิบัติน้อมธรรมะ พิจารณาอาการพระไตรลักษณ์ การเปลี่ยนแปลง ด้วยความรู้สึกที่ ไม่มีตัวตน ทาให้เกิดขึ้นในชีวิตของเราบ่อย ๆ ให้เป็นปกติ ตอนที่เราใส่ใจทุก ๆ อิริยาบถตรงนี้ เขาเรียกว่า ความเพียร เพียร...คือใส่ใจเข้าไปกาหนดรู้ เพียรที่จะเจริญสติ ไม่ใช่เพียรแล้วเดินอย่างเดียวนะ เพียรเดิน แตข่ าดสติ นกี่ เ็ หมอื นเดมิ อกี นนั่ แหละ คอื เพยี ร คอื ทา อะไรกต็ าม ใหม้ สี ตกิ า หนดรอู้ ยกู่ บั อารมณป์ จั จบุ นั ... ต่อเนื่อง คือความเพียร เพียรที่จะพิจารณา เพียรที่จะสังเกตอาการ เพียรที่จะดูกายดูจิตตัวเองอยู่เนือง ๆ
ทา แบบนี้ เมอื่ มสี ติ สตมิ กี า ลงั มากขนึ้ แลว้ เราจะรสู้ กึ อสิ ระขนึ้ สบายขนึ้ ความทกุ ขน์ อ้ ยลง แลว้ จะรู้ ว่าอายุอารมณ์ สิ่งที่เคยทุกข์สัก ๒ ชั่วโมง เหลือ ๕ นาทีประมาณนี้ บางคนรู้สึก...จากทุกข์อยู่ ๒ ชั่วโมง ทุกข์อยู่เป็นเดือน ตอนนี้พอคิดถึงทุกข์ แป๊บเดียวหายแล้ว แป๊บเดียวหาย เดี๋ยวก็จะสงสัยทาไมยึดไม่ได้ ทาไมไม่ทุกข์ ไม่ทุกข์อีกแล้ว ทาไมไม่ทุกข์อีกแล้ว ก็รู้สึกจะปล่อยวางอย่างไรดีนะ ต่างกันเยอะนะ คนละ เรื่องเลย คาถามคนละอย่างกัน
เพราะฉะนั้นการที่เราปฏิบัติ เมื่อไหร่ก็ตามที่รู้สึกว่าจิตไม่มีกาลัง ยกจิตทาให้กว้าง บางครั้งไม่ต้อง กว้างเกินไปนะ ไม่ต้องกว้างแบบไม่มีขอบเขต แค่รู้สึกว่าโล่งขึ้น สงบขึ้น แล้วน้อมพลังเข้ามา อีกอย่างหนึ่ง ที่เราทาได้ตลอดคือตรงนี้ ยกจิตขึ้นสู่ความว่างและน้อมระลึกถึงความดี น้อมเติมพลังให้กับจิตตัวเอง ความรู้สึกดี ๆ ถึงบุญกุศลความดีอย่างใดอย่างหนึ่ง ที่นึกถึงแล้วจิตเรามีพลังขึ้น มีความอิ่ม มีความหนา แน่นขึ้นมา อันนั้น...เอาที่ถนัดนะ ไม่ต้องทุกเรื่องก็ได้ นึกไปนึกมาเอ้า!หาย เมื่อกี้นี้ลืมไปเลย ที่นึกแล้ว อิ่มใจขึ้นมา พอไปนึกเรื่องอื่น อ้าว! ความอิ่มหายไปแล้ว นึกแต่เรื่อง แต่ระลึกถึงสิ่งที่รู้สึกทาแล้วจิตเรา มีพลัง แล้วก็ต่อไปก็พอใจในจุดที่มีกาลัง พอใจในความสุขอันนั้น
อีกอย่างหนึ่ง ตรงนี้ พูดถึงความพอใจ คาว่าพอใจไม่ใช่พอแล้ว คาว่าพอใจไม่ใช่พอแล้ว ถ้าพอใจ ก็ยังพัฒนาได้ แต่ถ้าพอแล้วหยุดพัฒนาเลย เพราะฉะนั้น ถ้าเราพอใจในความสุข ลองดูนะ สมมุติว่า ความสขุ กวา้ งเทา่ โตะ๊ ๆ หนา้ อาจารย์ ใหพ้ อใจ ทา จติ เรา ทา ความพอใจใหก้ วา้ งกวา่ ความสขุ อนั นนั้ กวา้ งกวา่ โต๊ะปุ๊บ ลองดูว่าความสุขเขาเพิ่มขึ้นไหม จิตเรามีพลังเพิ่มขึ้นไหม แล้วก็พอใจที่เขาเพิ่มขึ้น พอใจทาความ พอใจ จิตที่พอใจให้กว้างขึ้น ๆ ๆ ตรงนี้ ไม่ใช่เพราะอะไร การพอใจนี่นะอกุศลไม่เกิด พอใจในความดี จิต ที่ดีมีพลังมากขึ้น ๆ แล้วก็ใช้ประโยชน์ต่อไป ตรงนี้ใช้ได้ตลอดนะ ใช้ได้ตลอด แค่รู้จักพอใจในความไม่ ทุกข์ก็สุขแล้ว เอามาใช้บ่อย ๆ
อะ่ ! หมดเวลา...จะไดแ้ บบตนื่ ตวั นะ เปน็ อยา่ งไร เขา้ ใจขนึ้ นะ ธรรมะทปี่ ฏบิ ตั ิ จรงิ ๆ แลว้ ไมใ่ ชแ่ คน่ ี้ เป้าหมายสูงสุดคือการ...อย่างที่บอกแล้วว่า เป้าหมายสูงสุดคือการดับทุกข์อย่างสิ้นเชิง แต่การที่เราเห็น อาการพระไตรลักษณ์ ความเป็นคนละส่วน ที่เราบอกว่าแยกรูปนามเมื่อไหร่ ความทุกข์ดับไป อันนี้เป็นตัว บอกว่า ธรรมะที่พระพุทธเจ้าตรัส เราสามารถทาได้ เราเข้าถึงได้ เพียงแต่ความเพียรที่ต่อเนื่อง ที่เราจะทา


































































































   199   200   201   202   203