Page 205 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การดูสภาพจิต
P. 205
725
บรรยากาศของความรู้สึก หรือจิตเอง บรรยากาศของความรู้สึก หรือจิตเอง ตรงนี้ จิตที่ว่างอันนี้ ต้องแยกนิดหนึ่งว่า ความว่างในเบื้องต้น ที่เรายกจิตขึ้นสู่ความว่าง ที่พูดถึงตรงนี้ คือจิตที่ว่าง กว้างกว่าตัว ว่างจากตัวตน ว่างจากความรู้สึกว่าเป็นเรา คือไม่มีเรา เหมือนตอนที่นั่งอยู่ตรงนี้ ขณะที่นั่งอยู่ ขณะที่นั่ง ฟังธรรม ทาจิตให้ว่าง ให้กว้าง ให้กว้างเท่าไหร่ ถ้านั่งอยู่ในห้อง ในศาลา ก็ทาจิตที่ว่างให้กว้างเท่าศาลา ให้ กว้างเท่าศาลา แล้วทาความรู้สึก...เรานั่งอยู่ ให้รูปนี้ตั้งอยู่ในความว่าง ที่กว้างนั้น พอตั้งอยู่ในความว่าง ที่ กว้าง นี่คือเป็นบรรยากาศของสภาพจิต
จติ กวา้ งจนเปน็ บรรยากาศ บรรยากาศตรงนกี้ ก็ ลายเปน็ กา ลงั ของสมาธิ พอเรานงิ่ ถา้ จติ ทวี่ า่ ง ใหจ้ ติ ที่ว่างแล้ว...นิ่ง ลองสังเกตดูนะ ต่างจากที่เรานิ่งอยู่ในความว่าง คนละขณะกัน ให้ความรู้สึกที่ว่าง หรือจิต ที่ว่างที่กว้าง กว้างเท่าศาลาแล้ว...นิ่ง ตรงนั้น บรรยากาศความรู้สึกทั้งหมด...นิ่งชั่วขณะหนึ่ง พอนิ่งปุ๊บ ใน บรรยากาศ บรรยากาศของความรู้สึกที่ว่างนั้น เป็นอย่างไร เปลี่ยนไปอย่างไร มีความชัดเจน มีความสงบ ขึ้น มีความตั้งมั่นขึ้น มีความตื่นตัวขึ้น มีความสว่างขึ้น มีความใสขึ้น นั่นคือบรรยากาศของจิตเรา นั่นคือ บรรยากาศของความรู้สึก...ถ้ามีบรรยากาศแบบนี้รองรับ
ทีนี้ การที่ทาความรู้สึกแบบนี้ ว่าง กว้าง เป็นความรู้สึกที่ไม่มีตัวตน พอไม่มีตัวตน ข้อนี้สาคัญ อย่างยิ่งว่า การที่จะทาให้จิตของเรา ให้เป็นกุศลอย่างต่อเนื่อง คือดูจิตที่ว่างจากตัวตนนี่แหละ แล้วเพิ่ม ความนิ่ง เป็นการเพิ่มพลังให้กับจิตตัวเอง พลังตรงนี้เป็นพลังของอะไร พลังตรงนี้เป็นพลังของสติ พลัง ของสมาธิ ตรงนี้คือการเพิ่มพลังของสติสมาธิ แล้วปัญญาอยู่ตรงไหน ปัญญาคือ การที่เอาจิตที่มีกาลังแล้ว นี่นะ มาพิจารณามากาหนดรู้อาการเปลี่ยนแปลง กาหนดรู้อาการเกิดดับ หรือที่เรียกว่า กาหนดรู้อาการ พระไตรลักษณ์ ของอารมณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น
ในที่นี้ ถ้าเราทา...มีบรรยากาศรองรับแบบนี้ กับการปฏิบัติอย่างนี้แล้ว ยกตัวอย่าง ขณะที่เรานั่ง อยู่ตรงนี้ มีบรรยากาศรองรับ ลองสังเกตดูว่า ขณะที่ฟังธรรม คาพูดแต่ละคาที่เกิดขึ้น ที่ปรากฏออกมา คา พดู แตล่ ะคา ทเี่ กดิ ขนึ้ เขาเกดิ ในความวา่ งนนั้ ไหม เสยี งนนั้ ปรากฏอยใู่ นความวา่ งหรอื เปลา่ ถา้ เสยี งปรากฏ อยู่ในบรรยากาศของความว่าง วิธีสังเกตคือ จับที่ความรู้สึกของเรา ในความรู้สึกที่ว่างอันนี้ เสียงที่ปรากฏ อยู่ในความว่าง มีอาการเกิดแล้ว...ดับอย่างไร ในแต่ละคา ในแต่ละคา ในแต่ละคา
ตรงนี้ ถ้าสังเกตแบบนี้ จะเห็นว่าเสียงที่เกิดนั้น เกิดอยู่ในที่ว่าง ๆ แล้วถ้ายกจิตขึ้นสู่วิปัสสนา คือ ป ญั ญ า ก ค็ อื ก า ร เ พ มิ ่ . . . ม เี จ ต น า ท จี ่ ะ ร เ้ ู ส ยี ง ท ปี ่ ร า ก ฏ ใ น ค ว า ม ว า่ ง น นั ้ เ ก ดิ แ ล ว้ ด บั อ ย า่ ง ไ ร เ ก ดิ ด บั อ ย า่ ง ไ ร เ ก ดิ และดบั อยา่ งไร สงั เกตแบบนี้ พอสงั เกตแบบนปี้ บุ๊ จะเหน็ อาการเกดิ ดบั ทปี่ รากฏขนึ้ มา อนั นอี้ ยา่ งหนงึ่ อนั นี้ คือการยกจิตขึ้นสู่วิปัสสนา พอเห็นอาการเกิดดับแล้ว มีเจตนาที่จะเข้าไป ตามกาหนดรู้อาการเกิดดับของ เสียงนั้น อย่างต่อเนื่อง ต่อเนื่องไปเรื่อย ๆ จนเสียงนั้นสิ้นสุดลง ตรงนี้คืออย่างหนึ่ง คือการเจาะสภาวะ ถ้าเป็นแบบนี้เราจะ...เสียงอะไรเกิดขึ้นมาก็ตาม เราก็จะสามารถกาหนดได้ มีบรรยากาศรองรับ แล้วรู้ถึง อาการเกิดดับของเสียง ที่ปรากฏในความว่างอันนั้น