Page 206 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การดูสภาพจิต
P. 206
726
อันนี้ยกตัวอย่างว่า ถ้ามีบรรยากาศรองรับแบบนี้ จะเกื้อกูลแก่การปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง ถามว่าเรา วางจิตอย่างไร จะบอกว่าวางจิตอย่างไร คือการวางจิตให้ว่างจากตัวตน ว่างจากตัวตน สังเกตนะ ต่างจาก แค่ทาจิตให้เป็นกลาง เราไม่พยายามที่จะแค่ทาจิตให้มันเป็นกลาง...นิ่ง ๆ แต่ทาจิตให้ว่างจากตัวตน ว่าง จากตัวตน แล้วลองสังเกตดู เมื่อเห็นอาการของเสียงนั้น ปรากฏเกิดขึ้นในความว่าง แล้วเกิดดับในความ ว่าง ทุกครั้งที่ดับไป สภาพจิตที่ว่างอยู่เปลี่ยนไปอย่างไร มีความใสขึ้น มีความตั้งมั่นมากขึ้นอีก
ทีนี้ เวลาตามรู้อาการเกิดดับ ขณะที่ตามรู้ว่าอาการเกิดดับ ของอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งเกิดขึ้นมา ขณะที่ตามรู้ไป แล้วจิตตื่นตัวขึ้น ตั้งมั่นขึ้น ตอนแรก...เราทาความรู้สึกให้กว้างเท่าศาลา แต่ขณะที่ตามรู้ อาการเกิดดับแต่ละขณะ ไม่ต้องห่วงความกว้าง...ขณะนั้น ให้รู้ที่ความรู้สึกที่บริเวณตรงนี้...ข้างหน้า หรือที่ รูปให้ชัด ที่ดับไป เกิดดับไปแล้ว จิตรู้สึกตื่นตัวขึ้น ตั้งมั่นขึ้น มีกาลังมากขึ้น พออาการนั้นดับไป แล้วค่อย มาดูบรรยากาศทั้งหมด บรรยากาศที่กว้างเท่าศาลานี้ใหม่ ว่าเปลี่ยนไปด้วยไหม ต่างจากเดิมอย่างไร เริ่ม จากข้างใน อันนี้อย่างหนึ่ง
ทีนี้อีกอย่างหนึ่ง การที่รักษาจิตที่เป็นกุศล ให้เป็นกุศลมากขึ้น เพื่อป้องกัน ป้องกันอกุศลที่ ปรากฏ ที่จะมากระทบทางตา ที่อาศัยอารมณ์ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย การที่มีบรรยากาศตรงนี้แหละ ขณะที่มีบรรยากาศรองรับแบบนี้ ให้พิจารณาดูว่าอารมณ์ที่เกิดขึ้น อารมณ์ภายนอก...เสียง อาจารย์ ยกตัวอย่างเสียงธรรมะนี่นะ เราจะรู้สึกว่าไม่เป็นอุปสรรค ไม่เป็นไร แต่ถ้าเสียง...จริง ๆ แล้ว คาว่า เสียงนี่นะ เราจะไม่แยกคาว่าเสียงนั้น จะเป็นเสียงธรรมะ เสียงนก เสียงธรรมชาติ เสียงบุคคล เสียง เครื่องจักร
เอาแบบนี้ เสียงบุคคล เสียงเครื่องจักร เสียงสัตว์ ก็คือเสียงอย่างหนึ่ง แล้วให้เสียงอันนั้น ปรากฏ อยู่ในความว่าง ทีนี้ การที่เราขยายความรู้สึกให้กว้าง มีบรรยากาศรองรับ ขณะที่เห็นว่าเสียงที่ปรากฏอยู่ ในความว่าง ไม่ต้องไปกาหนดขอบเขตของความว่าง หรือไม่ต้องไปกังวลกับขอบเขตของความว่าง ว่ากว้าง แค่ไหน แค่รู้สึกว่า อารมณ์นั้นปรากฏอยู่ในที่ว่าง ๆ แล้วจุดหนึ่งที่พึงสังเกต ก็คือว่า ขณะที่ใช้ความรู้สึก แบบนี้ หรือใช้จิตแบบนี้ เวลาอารมณ์ที่เกิดขึ้น เสียงที่ปรากฏขึ้นมา เข้ามาถึงจิตใจเราไหม เข้ามากระทบ จิตใจไหม อันนี้ให้สังเกต
ทาไมถึงต้องสังเกตแบบนี้ เพราะอารมณ์ที่เกิดขึ้น เสียงที่เกิดขึ้น ถ้าพิจารณาแบบนี้ อารมณ์หรือ เสยี งทปี่ รากฏขนึ้ มา เสยี งกส็ กั แตว่ า่ ไดย้ นิ ไมเ่ ปน็ ปจั จยั ใหอ้ กศุ ลจติ เกดิ ปรากฏในความวา่ งแลว้ ดบั ไป การ ที่เราเห็นว่า เสียงปรากฏในความว่างแล้วดับไป นั่นคือธรรมชาติของอารมณ์จริง ๆ ธรรมชาติของอารมณ์ ของสภาวะของเสียงจริง ๆ ว่า เสียงจริง ๆ เราก็เกิดอยู่ในที่ว่าง แต่ที่เข้ามาถึงใจ เราจะได้เห็นว่า เมื่อไหร่ที่ เสียงพุ่งเข้ามาหาตัว พุ่งเข้ามาถึงตัว หรือพุ่งเข้ามาที่ใจ ลองดูว่าบรรยากาศนั้นหายไปหรือเปล่า
มีตัวตนแทรกขึ้นมาชั่วขณะหนึ่ง มีความรู้สึกว่าเป็นเราขึ้นมาชั่วขณะหนึ่ง ก็พุ่งเข้ามาถึงตัว กระทบ แลว้ กด็ บั ไป แตข่ ณะทกี่ ระทบแลว้ นนี่ ะ หนา้ ทขี่ องผปู้ ฏบิ ตั ิ คอื ใหด้ บั เวทนา ผสั สะทกุ ครงั้ ทเี่ กดิ ขนึ้ ...ธรรมชาติ ธาตุไม่สมดุลกัน พอมีลมกระทบ ก็ทาให้เกิดอาการระคายเคือง แล้วก็ไอขึ้นมา เป็นเวทนาที่เกิดขึ้นอย่าง