Page 21 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การดูสภาพจิต
P. 21
541
เพราะฉะนั้น ไม่ว่าอารมณ์นั้นจะเป็นอารมณ์ภายในหรือภายนอกก็ตาม ก็ขอให้สังเกตใส่ใจเข้าไป กาหนดรู้ ถึงการเกิดขึ้นตั้งอยู่ดับไป ไม่ว่าจะเป็นรูปเป็นเสียงเป็นกลิ่นเป็นรส สัมผัสหรือธรรมารมณ์ที่เกิด กับใจของเรา ไม่ว่าจะเป็นเวทนา เป็นรูปเป็นเวทนาเป็นกายเป็นจิต ก็พิจารณาแบบเดียวกัน อาการอะไรที่ อาศัยร่างกายเรา เกิดเป็นอาการของกาย เขาเรียกรู้กายในกาย ถึงแม้ว่าไม่มีรูปร่างของกายของตัวก็ตาม แตย่ งั รสู้ กึ ถงึ วา่ บรเิ วณกาย บรเิ วณตวั เรามอี าการเกดิ ดบั อยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ เกดิ ขนึ้ นนั่ กเ็ ปน็ อาการของกาย สังเกตให้ดี สังเกตว่ามีการเปลี่ยนแปลงเกิดดับ เปลี่ยนไปในลักษณะอย่างไร
เดี๋ยวอาจารย์จะไม่ใช้เสียง ให้เราพิจารณาสภาวธรรมที่อยู่เฉพาะหน้า เรามาปฏิบัติธรรมไป พร้อม ๆ กัน พิจารณาอาการจากสภาวธรรมที่กาลังปรากฏอยู่เฉพาะหน้าเรา ที่เป็นอารมณ์ปัจจุบันจริง ๆ ในขณะนี้ว่าเป็นไปในลักษณะอย่างไร จนกว่าจะเห็นสมควรแก่เวลา แล้วจะใช้เวลาสัก ๒๕ นาที ในการ พิจารณาสภาวธรรมอย่างสงบอย่างเงียบ ไม่ว่าจะมีความง่วงเกิดขึ้นก็ลองดู อย่างที่บอกแล้วเมื่อกี้นี้ว่า เมื่อ มีความง่วงเกิดขึ้น ให้ถอยจิตออกมามองไปข้างหน้ากว้าง ๆ ไกล ๆ แล้วก็ดูสภาพจิตเรา ถ้าสว่างขึ้นมาก็รู้ ความสวา่ งไป หรอื นอ้ มความสวา่ งเขา้ มาใสต่ วั เขา้ มาใสใ่ จเราใหเ้ กดิ ความรสู้ กึ ตนื่ ตวั ขนึ้ แตถ่ า้ ตนื่ ตวั ขนึ้ แลว้ มีอาการเกิดดับอย่างใดอย่างหนึ่งปรากฏขึ้นมา ก็ให้ใส่ใจเข้าไปกาหนดรู้ จนกว่าอาการเหล่านั้นจะสิ้นสุด
ในการพจิ ารณาสภาวธรรม ในการพจิ ารณาสภาวธรรมในการกา หนดรอู้ าการเกดิ ดบั ในแตล่ ะขณะ ในแตล่ ะอารมณน์ นั้ ใหเ้ ราตามรจู้ นอาการนนั้ สนิ้ สดุ ลง คา วา่ สนิ้ สดุ ลงกค็ อื หมดไปในชดุ หนงึ่ ชว่ งหนงึ่ อยา่ ง เช่น ขณะที่เราตามรู้ลมหายใจเข้าออก ก็ตามรู้ลมหายใจเข้าลมหายใจออก ตามรู้ไปเรื่อย ๆ จนอาการของ ลมหายใจหายไป นี่คือตามรู้จนหมด หายในที่นี้ไม่รู้สึกว่ามีลมหายใจ คือว่างไป จนลมหายใจว่างไปหมด หายไปหมด ตรงนี้เขาเรียกว่า สิ้นสุดอาการครั้งหนึ่งชุดหนึ่ง สมมติว่าว่างไปสักพักหนึ่งสักอึดใจหนึ่ง แล้ว ลมหายใจกช็ ดั ขนึ้ มาใหม่ เขาเรยี กเปน็ ชดุ ใหมข่ นึ้ เพราะฉะนนั้ เรากต็ ามรจู้ นจบเหมอื นเดมิ ตามรไู้ ป กา หนด รู้ลมหายใจไป จนอาการของลมหายใจสิ้นสุดลง สิ้นสุดลงอีกจนว่างไปอีก นั่นคือสิ้นสุดอาการ
อาการอย่างอื่นก็เหมือนกัน ไม่ว่าจะเป็นอาการเต้นของหัวใจ ความคิดหรือความปวด อาการเมื่อย อาการชาที่เกิดขึ้น ก็ตามรู้ในลักษณะเดียวกัน คือตามรู้เข้าไปกาหนดรู้จนเขาหมดไปว่างไป ถ้ามีคาถามว่า ถ้าเขาไม่หมดไปไม่ว่างไป เป็นอย่างไร เป็นอย่างไรก็ให้ตามรู้ทั้งบัลลังก์นั่นแหละ ถ้าไม่หมดไม่ว่างไป ยัง มีปรากฏเกิดขึ้นมาให้ตามรู้อย่างต่อเนื่อง ก็ตามรู้เข้าไปกาหนดรู้อย่างต่อเนื่องจนหมดบัลลังก์ ไม่ต้องไป ห่วงว่าเมื่อไหร่เขาจะจบ ทาไมไม่ดับไปสักทีนะ อย่างไรก็ดับ ไม่จบก่อนก็หมดบัลลังก์ก่อน ถ้าหมดบัลลังก์ แล้วยังไม่จบ ก็สามารถกาหนดต่อไปได้ เพิ่มเวลาให้กับตัวเองไปอีก จนอาการนั้นสิ้นสุดลง แสดงว่า สภาวธรรมเขามคี วามตอ่ เนอื่ งกนั มคี วามตอ่ เนอื่ งหรอื กา้ วหนา้ ขนึ้ เรอื่ ย ๆ แลว้ กก็ า หนดแบบนนั้ ไป ใหพ้ อใจ ที่จะกาหนดรู้อาการเกิดดับของอารมณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น ให้มากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้
เพราะฉะนั้น ตราบใดที่ยังมีอาการเกิดดับให้ปรากฏ ให้เราได้กาหนดรู้อย่างต่อเนื่อง ถือว่าดีแล้ว เราจะได้ไม่ต้องไปหาอารมณ์ ไม่ต้องไปหาว่าเมื่อไหร่อาการเกิดดับจะเกิดขึ้น ให้กาหนดรู้อย่างต่อเนื่อง ให้ ชดั เจน เดยี๋ วกจ็ บเดยี๋ วกส็ ดุ อยา่ งไรกส็ นิ้ สดุ สกั วนั เพราะสภาวธรรมเขาจะเปลยี่ นแปลงของเขา จะไมเ่ หมอื น