Page 36 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การดูสภาพจิต
P. 36
556
ของการคลายอุปาทาน เพราะคนเราถ้าจิตไม่ว่าง จิตไม่กว้าง จิตยิ่งแคบยิ่งเก็บอารมณ์ที่ไม่ดีได้เยอะ เป็น เรื่องอัศจรรย์อย่างหนึ่งนะ เราจะเห็นว่าจิตยิ่งแคบยิ่งเก็บอกุศลได้มาก จิตยิ่งแคบยิ่งเก็บความไม่ดีเข้ามา ได้เรื่อย ๆ เรื่อย ๆ เห็นอะไรก็ไม่ดี ไม่ดี...ตลอดเวลา แต่จิตที่กว้าง จิตที่ใหญ่ เหมือนเป็นพื้นที่ใหญ่ แต่ ไม่เก็บของไม่ดี เป็นเรื่องแปลกไหม ? นี่คือจิต
จิตที่แคบ ๆ แคบแค่นี้แต่ของไม่ดีเต็มไปหมดเลย ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน แม้แต่อนาคตก็ยัง บรรจุในจิตที่แคบ ๆ นี่แหละ เป็นเรื่องอัศจรรย์มาก ๆ แต่เมื่อไหร่ที่ทาจิตให้กว้างให้ว่างออกไป ของไม่ดี กลับเก็บไม่ได้ เหมือนพื้นที่ใหญ่แต่ไม่เก็บสิ่งไม่ดี นี่คือจิตของเรา ทาไมถึงต้องยกจิตขึ้นสู่ความว่าง ทาจิต ใหก้ วา้ ง ? จติ ทกี่ วา้ งพรอ้ มทจี่ ะรบั รพู้ รอ้ มทเี่ ขา้ ใจในสงิ่ ทเี่ กดิ ขนึ้ เหมอื นธรรมชาตบิ รรยากาศทอี่ ยรู่ อบตวั เรา ความว่างของอากาศ เขาไม่ปฏิเสธอะไรเลยสักอย่าง ต้นไม้ต้นไหน ใครเดินผ่านมา รถวิ่งเร็ววิ่งช้า อากาศ ก็เป็นอยู่อย่างนั้น ธรรมชาติก็เป็นอยู่อย่างนั้น
สังเกตดู สภาพจิตใจของคนเราก็เหมือนกัน อารมณ์ต่าง ๆ เกิดขึ้นมาหลากหลายมากมาย ต้นไม้ ใบหญา้ ทเี่ ราเหน็ กป็ รากฏเขา้ มาในจติ ใจของเรา บคุ คลกป็ รากฏขนึ้ มาในจติ ใจของเรา กระทบทางตา หู จมกู ลิ้น กาย หรือใจ ก็ไปปรากฏอยู่ที่ใจของเราเสมอ ถ้าใครมีจิตใจที่คับแคบ จิตใจที่เล็ก ๆ แคบ ๆ เพราะมี ตัวตน มีความเป็นเรา อะไรปรากฏเข้ามาในใจก็มีอาการกระทบ กระทบ กระทบ กระทบ... และชอบสะสม ในสิ่งที่ทาให้ตัวเองเป็นทุกข์ แต่เมื่อไหร่ที่ปล่อยจิตของเราให้กว้างเหมือนอากาศ ให้กว้างเหมือนธรรมชาติ ที่บอกว่าใจกว้างเมื่อไหร่ของที่หนักก็ร่วงไป ใจเบา ใจว่าง ของหนัก ๆ ที่เกิดขึ้นมาเขาก็ดับไป
จริง ๆ แล้วเคยพูดเสมอว่า ของหนักมักจะตั้งลอยอยู่บนอากาศได้ไม่นานหรือไม่ได้ เวลาเราโยน ก้อนหินขึ้นสู่อากาศ เราไม่เห็นว่าก้อนหินมันลอยค้างอยู่อย่างนั้นนาน ตกเสมอ ตกเร็วด้วย ก็เหมือนกัน ถ้าจิตเรากว้างแบบนั้น เวลาอารมณ์เข้ามากระทบ อันไหนไม่ดีมันจะได้ดับไปตกไปเร็ว ๆ อันไหนที่ดีก็อยู่ นาน กลายเป็นว่าจิตที่ดี ๆ กลับตั้งอยู่นานขึ้น เมื่อเรารู้วิธีการแบบนี้แล้วควรเอาไปใช้ให้บ่อยให้มาก จริง ๆ แล้วพออาจารย์บอกว่าควรเอาไปใช้ให้บ่อยให้มาก เราก็รู้สึกว่า “เธอต้องทานะ!” จริง ๆ สิ่งเหล่านี้เราต้อง พิจารณาด้วยปัญญาของเราเองว่าจิตแบบนี้ดีกับเราอย่างไร
เรารู้สึกดีกับจิตดวงนี้ จิตของใคร ? ก็จิตเราเอง ไม่ใช่ของคนอื่น จิตที่ว่างจิตที่เบาเราทาให้เกิด ขึ้นเอง เราเห็นคุณค่าของจิตดวงนี้ของเรามากแค่ไหน ? จิตที่ว่าง จิตที่สว่าง จิตที่ผ่องใส ดีกับเราอย่างไร เมื่อเราทาให้จิตดวงนั้นเกิดขึ้น ? ตรงนี้แหละที่สาคัญ ถ้าเราเห็นว่าจิตดวงนั้นเป็นจิตที่ดี เราควรจะทาให้ จิตที่ดีอยู่แล้วตั้งอยู่นานแค่ไหน หรือเราควรจะอยู่กับจิตประเภทนี้ไหม ? เป็นการน้อมเข้ามาใส่ตัวเอง ถ้า เราทาแบบนี้บ่อย ๆ ไม่ใช่ว่าทาให้จิตว่างอย่างเดียว ธรรมชาติอย่างหนึ่งของการปฏิบัติธรรม ที่บอกว่าถ้า เราเห็นว่าจิตเราดี จิตเรามีความสุข จิตเรามีความใส มีความสงบ เราเห็นคุณค่าเมื่อไหร่ เราจะมีความขยัน มีความเพียร พอใจที่จะทาให้จิตที่ดีแล้วดียิ่งขึ้น ดียิ่งขึ้น...
เหมือนกับเราทางานต่าง ๆ ในชีวิตของเรานั่นแหละ เพราะเราเห็นว่างานที่เราทาเป็นไปเพื่ออะไร เพื่อการดารงชีวิตของเรา เพื่อคุณค่าของชีวิตของเรา หลาย ๆ อย่าง ทั้งความรู้สึกดี ทั้งเกียรติ ทั้งทรัพย์