Page 5 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การดูสภาพจิต
P. 5
สภาพจิต
ณ สานักวิปัสสนาพัฒนาทางจิต จ.ตรัง วันที่ ๒๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
พูดถึงเร่ืองของการพิจารณาสภาพจิตของเรา อยากให้โยคีไล่สภาวะตามในการฟังธรรม การ ไล่สภาวะก็คือการปฏิบัติตามตามที่พูดถึง พูดถึงตรงไหนเราก็พิจารณาตรงสภาวะน้ันของเรา อย่างเช่น พอพูดถึงสภาพจิต เราก็ต้องรู้สภาพจิตของเราก่อน ถ้ายังไม่เข้าใจว่าคาว่าสภาพจิตคืออะไร ขอทบทวน นิดหน่ึง เวลาสอบอารมณ์อาจารย์มักจะถามว่า “สภาพจิตเป็นอย่างไร ?” สภาพจิตรู้สึกสงบ รู้สึกเบา รู้สึก ม่ันคง รู้สึกโล่ง รู้สึกน่ิมนวล รู้สึกอ่อนโยน รู้สึกหนักแน่น น่ันคือลักษณะของสภาพจิต เพราะฉะนั้น การ พจิ ารณาสภาพจติ กค็ อื พจิ ารณาวา่ ขณะนสี้ ภาพจติ ของเราเปน็ อยา่ งไร... มคี วามสงบ มคี วามผอ่ งใส มคี วาม ขุ่นมัว หรือมีความต้ังมั่น มีความมั่นคง หรือมีความโปร่ง โล่ง สบาย ? อันน้ีคือสภาพจิตที่เรารู้ในปัจจุบัน
สภาพจิตตรงนี้จะเกิดขึ้นมาได้อย่างไร ? ย้อนไปนิดหนึ่ง โดยทั่วไปเวลาเรากาหนดอารมณ์ใหม่ ๆ ในการปฏบิ ตั ธิ รรม เราจะไมร่ เู้ ลยวา่ สภาพจติ ของเราเปน็ อยา่ งไร หรอื รแู้ ตไ่ มเ่ หน็ วา่ สภาพจติ ของเรามคี วาม กว้างเป็นบรรยากาศหรือไม่ หรือแค่รู้สึกว่าใจสงบ ใจนิ่ง ๆ ใจว่าง ๆ ใจเบา ๆ แต่ไม่รู้ว่าความเบานั้นกว้าง หรือเปล่า ความสงบนั้นกว้างหรือเปล่า เพราะฉะนั้น ตอนที่เราตามกาหนดรู้อารมณ์ต่าง ๆ ท่ีเกิดขึ้น ไม่ ว่าจะเป็นการตามกาหนดรู้ความคิด ตามกาหนดรู้อาการของลมหายใจ ตามกาหนดรู้อาการพองยุบ หรือ ตามกาหนดรู้อาการของเวทนาก็ตาม ถ้ายังไม่สามารถแยกรูปนามได้ ยังไม่เห็นชัดว่า “จิตท่ีทาหน้าท่ีรู้” กับ “อารมณ์ที่เกิดขึ้น” เป็นส่วนเดียวกันหรือคนละส่วน หรือเห็นว่าเป็นคนละส่วนแล้ว ก็ยังรู้สึกว่ายังบอก ไม่ได้ว่าสภาพจิตเป็นอย่างไร
เพราะฉะน้ัน ขณะที่เราปฏิบัติใหม่ ๆ เราจึงเป็นเพียงผู้ตามอาการอย่างเดียว ตรงที่ตามรู้อาการ อย่างเดียวก็มีแต่จิตท่ีทาหน้าที่รู้กับอาการที่เกิดขึ้นเท่านั้นเอง พออาการหมดไปก็รู้สึกน่ิง ๆ ไม่ได้ดูสภาพ จิต ไม่ได้ดูจิตว่านิ่ง นิ่งแบบไหน นิ่งแล้วดีอย่างไร ก็แค่รู้สึกนิ่ง ๆ อย่างนี้อย่างหน่ึง ทีน้ี พอเราปฏิบัติ ไปสักพัก แยกรูปนามได้ แยกจิตกับกายออกจากกันได้ เมื่อแยกจิตแยกกายออกจากกันได้ แล้วรู้สึก สงบ รู้สึกโล่ง รู้สึกโปร่ง รู้สึกเบา... ถามว่า ตรงที่รู้สึกโล่ง รู้สึกโปร่ง รู้สึกเบานั้นเป็นจิตหรือเปล่า ? ทีนี้ ให้
525