Page 6 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การดูสภาพจิต
P. 6

526
จิตที่โล่งเบากว้างกว่าตัว ให้กว้างออกไป... ยิ่งกว้างออกไป รอบ ๆ ตัวก็โล่งเบาไปด้วย ตรงนั้นสภาพจิต กวา้ งจนกลายเปน็ บรรยากาศ และใหค้ วามรสู้ กึ วา่ สภาพจติ เรายงิ่ โลง่ เบามากขนึ้ ตรงนนั้ จะเปน็ สภาพจติ แลว้
ทีนี้ เมื่อพิจารณาเห็นว่าจิตที่โล่งเบากับตัวเป็นคนละส่วนกัน ลองพิจารณาอีกนิดหนึ่งว่า ขณะที่เห็นเป็นคนละส่วน จิตที่เบา ๆ ที่โล่ง ๆ เขาบอกว่าเป็นเราหรือเปล่า ? ขณะที่จิตกว้าง โล่ง และเบา กว้างกว่าตัว ตัวที่นั่งอยู่รู้สึกอย่างไร... รู้สึกหนักหรือเบา ? แล้วตัวที่นั่งอยู่เขาบอกว่าเป็นเราหรือเปล่า ? ตรงนี้คือการพิจารณาตามสภาวธรรมที่กาลังปรากฏนอกจากเห็นว่าสภาพจิตโล่ง โปร่ง เบา ว่าง พิจารณา ว่ารู้สึกมีตัวตนหรือไม่มีตัวตน มีเราหรือไม่มีเรา ? เราจะตอบได้ว่าไม่มีเรา ไม่มีตัวตน สังเกตดูเลย เมื่อ เราบอกตัวเองได้ว่า ขณะนั้นสภาพจิตไม่มีตัวตน ไม่บอกว่าเป็นเรา ไม่บอกว่าเป็นใคร ตัวก็เบา ถามว่า เราละอะไรจึงทาให้สภาพจิตใจรู้สึกโล่ง รู้สึกโปร่ง รู้สึกเบา และไม่วุ่นวาย ?
คาว่า “ไม่วุ่นวาย” ก็คือความสงบนั่นเอง ไม่กระสับกระส่าย ไม่เร่าร้อน รู้สึกโล่ง ๆ โปร่ง ๆ เบา ๆ สบาย แล้วถ้าพิจารณาสังเกตเห็นชัด จิตยิ่งรู้สึกอิสระจากที่เคยถูกพันธนาการด้วยความไม่รู้ ด้วยการ เข้าไปยึดรูปนี้ว่าเป็นเรา ก็คือการละอุปาทาน คลายอุปาทานที่เข้าใจว่ารูปนี้เป็นเรา ที่เคยเห็นว่ากายกับ จิตเป็นอันเดียวกันน่ันเอง เมื่อเห็นว่ากายกับจิตเป็นอันเดียวกัน รู้สึกว่ารูปนามเป็นอันเดียวกัน จึงทาให้ เกิดอุปาทานขึ้นมา นั่นคือความไม่รู้ แต่เมื่อได้เห็นอย่างนี้แล้วว่า สามารถทาให้จิตกว้างกว่าตัว และเห็น ชัดถึงความเป็นคนละส่วนกัน นั่นคือการแยกรูปแยกนาม แล้วละความเป็นอัตตา ทาให้สภาพจิตใจ รู้สึกโล่ง โปร่ง เบา และอิสระ คาว่า “อิสระ” ตรงนี้เป็นเบื้องต้น ซึ่งเราจะใช้คาว่ารู้สึกอิสระ ก็คือไม่ถูก พันธนาการนั่นเอง
ทีนี้ การพิจารณาดูสภาพจิตของเราก็คือว่า ยิ่งเข้าไปกาหนดรู้หรือยิ่งเข้าไปพิจารณาสังเกตดู จิตที่โล่ง จิตที่โปร่ง จิตที่เบาเท่าไหร่ ลองดูว่า ทาให้สภาพจิตใจเราเป็นอย่างไร ? จิตที่โล่งเขาโล่งแค่นั้น หรือโล่งมากขึ้น ? หรือได้ประโยชน์อะไรกับการทาจิตให้โล่งให้ว่าง ? ถ้าเราพิจารณาถึงเหตุและผลของ การที่คนเราเข้าไปยึดรูปนามอันนี้ว่าเป็นเรา ทาไมบุคคลทั้งหลายถึงเข้าไปยึดรูปนามขันธ์ห้านี้ว่าเป็นเรา ทั้ง ๆ ที่ยึดทุกครั้งก็ทุกข์ทุกครั้ง ยึดทุกครั้งก็หนักทุกครั้ง แต่ก็ยังหลงใหลในรูปอันนี้อยู่ ? เพราะไม่ได้ พิจารณาตามความเป็นจริง ไม่สามารถแยกรูปนามได้ แม้แต่ผู้ที่แยกรูปนามได้แล้วก็ตาม ถ้าไม่นาเอา ความจริงตรงนี้ ไม่เอาความเป็นอนัตตา ความว่าง ความไม่มีตัวตน ความไม่มีเรามาเป็นที่ตั้งของการระลึก
พึงระลึกอยู่เสมอว่ารูปนามอันนี้ไม่มีตัวตน ไม่ได้บอกว่าเป็นตัวเราของเรา เมื่อไม่มีตัวเราของ เราหรือไม่ได้บอกว่าเป็นเรา แต่สิ่งหนึ่งที่เรายังเห็นได้ก็คือ แม้รูปกับนามอันนี้แยกเป็นคนละส่วนกันและ ไม่บอกว่าเป็นเรา การปล่อยวางไม่ใช่ไม่รับรู้อะไร จิตที่ว่าง-จิตที่เบา-จิตที่ไม่ประกอบด้วยตัวตนยังต้อง ทาหน้าที่รับรู้ ทาหน้าที่ตามปกติ ทาหน้าที่ที่เคยทาทุกวัน แต่เป็นการทาหน้าที่ด้วยความรู้สึกที่ไม่มีตัวตน การทา หนา้ ทดี่ ว้ ยความรสู้ กึ ทไี่ มม่ ตี วั ตนหรอื ดว้ ยจติ ทวี่ า่ งนนั้ ตอ้ งมเี จตนา ตอ้ งมเี จตนาทจี่ ะใชจ้ ติ ทวี่ า่ งทเี่ บา ทาหน้าที่รับรู้อารมณ์ที่เกิดขึ้นทางทวารทั้งหก ถ้าไม่มีเจตนาที่จะใช้จิตที่ว่าง จิตที่โล่ง จิตที่เบา จิตที่สงบ หรือจิตที่มั่นคงเข้าไปรับรู้อารมณ์ที่ปรากฏทางตาหูจมูกลิ้นกายใจแล้ว เราก็จะอาศัยความเคยชิน


































































































   4   5   6   7   8