Page 7 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การดูสภาพจิต
P. 7

527
เคยชนิ กค็ อื วา่ เคยใชค้ วามมตี วั ตนทา หนา้ ทรี่ บั รู้ กจ็ ะกลบั มาทา หนา้ ทรี่ บั รอู้ ารมณต์ า่ ง ๆ ดว้ ยความ รู้สึกว่าเราเป็นผู้รับรู้อีกเหมือนเดิม ขณะที่กลับมาใช้ความรู้สึกว่าเป็นเรา อาศัยความเคยชินตรงนั้น สภาพ จิตที่ว่าง ที่โล่ง ที่เบาก็จะหายไป แล้วก็ปรารถนาที่จะทาจิตให้ว่าง ทาจิตให้ว่าง ทาจิตให้ว่าง ทาจิตให้โล่ง ให้เบาอยู่เรื่อย ๆ แต่ไม่มีเจตนาที่จะเอาจิตที่โล่งที่เบานั้นมาใช้งานต่อ มาใช้ในการทาหน้าที่รับรู้อารมณ์ ตา่ ง ๆ ทเี่ กดิ ขนึ้ รอบตวั เรา และมกั จะมเี งอื่ นไข พดู ซา้ นะ...อาจารยพ์ ดู ซา้ แลว้ ซา้ อกี วา่ เพราะเรา “มเี งอื่ นไข” ว่า ถ้าอารมณ์ดีเกิดขึ้นมา จิตเราก็จะว่างได้ง่าย ถ้าอารมณ์ที่ไม่ดีเข้ามากระทบ จิตก็จะไม่ว่าง ทาจิตให้ว่าง ได้ยาก ดับความเป็นตัวตนได้ยาก
แต่การที่เรามาฝึก เราพิจารณาอย่างนี้ เราแยกรูปนามได้ ที่บอกให้ทาซ้า ๆ ดูถึงสภาพจิตบ่อย ๆ การทจี่ ะทา ใหจ้ ติ เราวา่ งอยา่ งตอ่ เนอื่ งหรอื ยาวนาน ใหม้ าพจิ ารณาสภาพจติ บอ่ ย ๆ จากการทเี่ ราแยกรปู นาม ได้แล้ว จิตรู้สึกเบา รู้สึกโล่ง รู้สึกโปร่ง หรือรู้สึกสงบ แล้วแต่ ให้กลับมาดูเป็นระยะ ๆ ในการรับรู้อารมณ์ ต่าง ๆ ที่เข้ามากระทบ อย่างได้ยินเสียง เมื่อมีเสียงดังขึ้นมา ก็มาดูว่าสภาพจิตเราเป็นอย่างไร เมื่อเสียง กระทบขึ้นมา ไม่ว่าเสียงนั้นจะรู้สึกมีน้าหนักหรือมีความเบา เสียงดังเบา ๆ ดูสภาพจิตเป็นอย่างไร... สภาพ จิตเบาไหม ? ขณะที่เสียงกระทบแล้วรู้สึกว่ามีน้าหนักเกิดขึ้น สภาพจิตเป็นอย่างไร...
สภาพจิตยังกว้างอยู่ไหม ยังมีบรรยากาศอยู่ไหม หรือว่าสภาพจิตหดลงแคบลง ? พอแคบลง... การกระทบเด่นชัดขึ้น เมื่อการกระทบชัดขึ้น เวทนาชัดขึ้น ทาอย่างไร ? หน้าที่ของเราคือ ทาความรู้สึก/ ทาจิตเราให้กว้างขึ้น (ถ้า)มาดูที่สภาพจิตแล้วรู้สึกว่าแคบลงก็ขยายออกให้กว้างขึ้นอีก ถ้ารู้สึกว่า(รูปกับ นาม)เป็นอันเดียวกัน แยกรูปแยกนาม แล้วขยายให้กว้าง แต่ถ้ากระทบเข้ามาที่รูป ไม่มีรูป/ไม่มีตัว แต่เห็น จิตกับอาการที่พุ่งเข้ามาเป็นคนละส่วนกัน ก็สังเกตดูว่า พุ่งเข้ามาแล้วดับอย่างไร ? ถ้าเป็นอย่างนั้น บรรยากาศไม่ต้องห่วง สภาพจิตเราจะชัด เราจะรู้สึกเลยว่าเมื่อไหร่ที่รูปว่างไปจิตก็จะว่างเช่นเดียวกัน
ถ้าจิตไม่ว่าง-รูปไม่ว่าง ถ้าจิตไม่เบา-รูปไม่เบา แม้บางครั้งจิตเบา(แต่)รูปหนักก็มี บางครั้งจิตเบารูป มนี า้ หนกั แตจ่ ติ ไมไ่ ดเ้ บาโลง่ แคแ่ ยกสว่ นกนั เทา่ นนั้ เอง ความมนี า้ หนกั ของรปู ทเี่ ปน็ อาการของธาตทุ ปี่ รากฏ ถา้ เราดทู สี่ ภาพจติ กจ็ ะรสู้ กึ วา่ ออ๋ ! อนั นเี้ ปน็ แคอ่ าการทางกาย เปน็ อาการของรปู เทา่ นนั้ เอง ไมใ่ ชเ่ ปน็ อาการ ของจิตใจเรา เราปฏิบัติเพื่อขัดเกลาจิตใจให้เกิดความผ่องใส เกิดความสะอาด เกิดความโล่งความเบา ถ้าจิตยังเบาอยู่ สงบอยู่ ใสอยู่ ถึงแม้รูปจะมีน้าหนักก็เป็นเรื่องธรรมดา เพราะว่าน้าหนักนั้นไม่ได้เกิดจาก กิเลส แล้วไม่ต้องกังวล หน้าที่ของเราคือเข้าไปกาหนด กาหนดรู้กาหนดดูว่าความหนักเขาเปลี่ยนแปลงไป อย่างไร ดับอย่างไร อันนี้อีกอย่างหนึ่ง
การพจิ ารณาสภาพจติ บอ่ ย ๆ เมอื่ มผี สั สะ/มอี ารมณเ์ ขา้ มากระทบทางตาหจู มกู ลนิ้ กายใจ จากทเี่ รา เคยเกาะเกี่ยวอยู่กับอารมณ์ทาให้มีความหนักความอึดอัด เมื่อจิตละความหนักความอึดอัดได้แล้ว เวลามี อารมณ์เข้ามากระทบใหม่ จิตที่เบาจิตที่สะอาดย่อมจะเห็นชัดว่านี่อารมณ์เข้ามากระทบแล้ว ถึงแม้อารมณ์ นั้นจะละเอียดกว่าเดิมก็ตาม แต่จะสามารถรู้ได้ชัดมากกว่าเดิมว่าอารมณ์น้ีเกิดขึ้นแล้ว เมื่อประกอบ ด้วยเจตนาหรือพอใจที่จะเข้าไปรู้ถึงการเกิดขึ้น-ตั้งอยู่-ดับไปของแต่ละอารมณ์ที่กาลังปรากฏ ก็จะเห็นว่า


































































































   5   6   7   8   9