Page 9 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การดูสภาพจิต
P. 9
529
แต่จุดที่ต้องดูควบคู่กันเสมอก็คือ ลักษณะของอาการเกิดดับที่เปลี่ยนไป ปัญญาที่เกิดขึ้นตรงนี้ เป็นปัญญาที่เห็นถึงอาการพระไตรลักษณ์ การเกิดดับของอารมณ์ที่เข้ามานั้นเกิดดับต่างจากเดิมอย่างไร การเกิดดับที่ไม่เหมือนกันนั่นแหละตัวสาคัญ ทาไมถึงถามว่าเกิดดับเด็ดขาด เหลือเศษ/ไม่เหลือเศษ อารมณ์ ? เพราะการเกิดดับของอารมณ์ที่เข้ามากระทบ ถ้าแบบไม่เหลือเศษ ก็เหมือนกับอารมณ์ที่เข้ามา กระทบทางตาทางหูทางจมูกทางลิ้นทางกายของเรา เวลากระทบแล้วเกิดความรู้สึกไม่พอใจขึ้นมา ความ ไม่พอใจนี้ดับแล้วเกลี้ยงไปจากความรู้สึกไม่เหลือเศษของความไม่พอใจหรือเปล่า ? ถ้าเห็นว่าดับไม่เหลือ เศษ เมื่อเกิดขึ้นอีก เราจะได้เห็นว่าความไม่พอใจนั้น เป็นความรู้สึกที่เกิดขึ้นมาใหม่ หรือเป็นของเก่า
ทา ไมถงึ พจิ ารณาอยา่ งนี้ ? การทเี่ รารสู้ กึ วา่ ของเกา่ ดบั ไปไมเ่ หลอื เศษ-ของใหมข่ นึ้ มา ของเกา่ ดบั ไป- ของใหม่ขึ้นมา... กลายเป็นมีแต่ความรู้สึกใหม่ที่เกิดขึ้น ไม่ใช่ของเก่า เมื่อไม่มีของเก่า การทับถมทับซ้อน เพิ่มมากขึ้นหรือความไม่พอใจที่ก่อตัวหนาแน่นมากขึ้นย่อมไม่ปรากฏ แต่ถ้าไม่เห็นว่าเขาดับหรือดับแล้ว ยังมีเศษ ก็จะสั่งสม สั่งสม สั่งสม... สั่งสมไปเรื่อย ๆ แล้วก็จะกลายเป็นว่าทั้งของเก่าของใหม่มารวมกัน เพราะฉะนนั้ เวลาดบั หรอื เวลาละกจ็ ะใชเ้ วลานาน แตถ่ า้ เหน็ เกดิ ขนึ้ มาแลว้ ดบั ดบั หมดไปแลว้ รวู้ า่ เปน็ ความ รสู้ กึ ใหม/่ เปน็ อารมณใ์ หมเ่ ลย เรากอ็ ยกู่ บั สงิ่ ใหม่ ไมไ่ ดอ้ ยกู่ บั ของเกา่ ไมเ่ หลอื เศษอารมณ์ รวู้ า่ เปน็ ของใหม่ ถ้าเมื่อไหร่ที่รู้ว่าเป็นอารมณ์ใหม่/เป็นของใหม่ในลักษณะอย่างนี้ อายุอารมณ์เขาจะสั้นลงเรื่อย ๆ แล้วพอ เกิดใหม่ก็จะบางกว่าเดิม
ยิ่งเราเห็นว่าเขาดับหมดไปแต่ละครั้ง จิตสงบ หมดจด มีความมั่นคง แทนที่จะกังวลกับการที่จะ เกิดใหม่ ถ้าเราพอใจในสภาพจิตของตนเองที่รู้สึกสงบ มั่นคง เด็ดขาด ไม่สั่งสมอารมณ์ที่เป็นอกุศลแล้ว จติ จะยงิ่ มกี า ลงั มากขนึ้ ความพอใจตรงนเี้ ปน็ ความพอใจทไี่ มม่ ตี วั ตน เปน็ ความพอใจในความดใี นสภาพจติ ที่ดีที่เป็นอยู่ เพราะฉะนั้น เมื่อเราพอใจในความดี จิตที่ดีที่เป็นกุศลก็จะยิ่งมีกาลังมากขึ้น ๆ สภาพจิต ตรงนี้คือสิ่งที่เป็นเรา ที่เรียกกันโดยสมมติว่าอันนี้คือจิตใจของเรา จิตใจเราดี จิตใจเราสงบ จิตใจเรารู้สึก โล่ง โปร่ง เบา ผ่องใส... ใจเราไม่เหมือนเมื่อก่อนแล้ว จิตใจสงบกว่าเดิม เบากว่าเดิม เวลาอารมณ์เข้ามา กระทบก็ดับเร็ว ไม่เก็บ กลายเป็นว่าเมื่อเป็นแบบนั้น เราเป็นคนอย่างไร ? เรายังเป็นคนเดิมไหม...
... หรือเราเปลี่ยนไปแล้ว ? เป็นคนที่ไม่ชอบสั่งสมของไม่ดีไว้ในจิตใจ ไม่ชอบเก็บอารมณ์ที่ไม่ดีไว้ ในจิตใจ เป็นคนที่พร้อมที่จะละอกุศลที่กาลังปรากฏอยู่ในใจนี้ พร้อมที่จะละ ละ ละ... แล้วเมื่อละแบบนี้ บ่อย ๆ ลองดูว่า ชีวิตที่เป็นอยู่เป็นอย่างไร ? (อยู่ด้วย)จิตที่สงบ จิตที่โล่ง จิตที่เบา จิตที่มั่นคง เราก็กลาย เป็นคนอยู่อย่างสงบ อยู่ด้วยความว่าง อยู่ด้วยความโล่ง อยู่ด้วยความเบา หรืออยู่อย่างผู้มีสติ ที่เรามักใช้ คา วา่ รเู้ ทา่ ทนั อารมณ์ จรงิ ๆ แลว้ เปน็ การรจู้ กั จติ ตวั เองวา่ อารมณท์ เี่ กดิ ขนึ้ มาควรเขา้ ไปยดึ หรอื ไม่ หรอื ควร ทา อยา่ งไรไมใ่ หท้ กุ ขก์ บั อารมณท์ เี่ กดิ ขนึ้ และอยอู่ ยา่ งผมู้ ปี ญั ญา คอื รวู้ า่ ทา ใจอยา่ งไรจงึ ไมค่ ลอ้ ยตามอารมณ์ ทาจิตอย่างไรจึงทาให้อารมณ์เหล่านั้นไม่สามารถเข้ามาปรุงแต่งจิตใจได้ ไม่มีอานาจเหนือจิตใจของเรา
เพราะฉะนั้น การดูสภาพจิตตรงนี้ ที่บอกว่า ให้ดูสภาพจิตดูเข้าไป ดูเข้าไป...ว่าเขาเป็นอย่างไร ถ้าเราไม่พิจารณาในลักษณะอย่างนี้ บางทีรู้แต่ว่าใส..บาง ใส...บาง ใส...บาง เบาโล่ง แล้วก็ ไม่มีอะไร