Page 61 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การดูสภาพจิต
P. 61
581
แตก่ ารทเี่ รารเู้ ทา่ ทนั ตวั เอง รเู้ ทา่ ทนั จติ รเู้ ทา่ ทนั กเิ ลสทจี่ ะเกดิ ขนึ้ หลงั จากผสั สะเกดิ ขนึ้ มผี สั สะทาง ตา ทางหู ทางจมูก ทางลิ้น ทางกายเกิดขึ้น มีผัสสะเกิดขึ้น มีเวทนาเกิดขึ้น มีเวทนาเกิดขึ้น แล้วจิตที่ไป รับรู้ถึงผัสสะ และรู้เวทนานั้น รับรู้ด้วยจิตประเภทไหน อันนั้นที่เราสามารถพัฒนาสติของเราให้ไว รู้เท่าทัน อารมณ์ กิเลสของตน ที่เกิดขึ้นได้ การที่เรากาหนดรู้ ที่เราเจริญสติอยู่ทุกวันนี่แหละ การที่เราพร้อมที่จะรู้ ถึงอาการเกิดดับของแต่ละอารมณ์ที่เกิดขึ้น ไม่ว่าจะเป็นทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจก็ตาม มีความพอใจที่ จะกาหนดรู้ รู้เท่าทัน รู้อารมณ์นี้ให้มากขึ้น รู้การเกิดดับของอารมณ์ต่าง ๆ มากขึ้น สติก็จะไวขึ้น
เพราะอะไร เพราะอาการ อารมณ์ที่เกิดขึ้นนั้น อย่างเช่น เสียงที่เราได้ยิน เราเห็นว่าเสียงเกิดดับ เห็นอาการ...เสียงหนึ่งครั้ง เสียง ๆ เดียว เสียงขณะหนึ่ง ถ้าสติเราระดับหนึ่ง ก็จะเห็นว่าเสียงเดียวดับครั้ง เดียว เสียงหนึ่งเกิดขึ้นมา เห็นดับครั้งเดียว แต่พอสติมีกาลังมากขึ้น ในเสียงเดียวยังมีอาการเกิดดับอยู่ ในนั้น ในเสียงเดียวยังมีอาการเกิดดับหลาย ๆ ขณะในเสียงนั้น และแต่ละขณะในเสียงนั้น อาการเกิดดับ เกิดพร้อมกันหรือคนละขณะกัน การที่ใส่ใจรายละเอียดตรงนี้ จะทาให้สติเราแก่กล้าขึ้น ไวขึ้น
ตรงนี้เป็นการฝึก ฝึกสติของเราให้แก่กล้าขึ้น และฝึกปัญญา ปัญญาตรงไหน การที่เราเห็นในเสียง เดียว ในขณะเดียว จากที่เคยเห็นดับครั้งเดียว แต่พอสติมีกาลังมากขึ้น กลับเห็นว่า ในเสียงนั้นยังมีอาการ เกิดดับหลาย ๆ ขณะอยู่ ตรงนั้นบอกอะไรกับเรา บอกอะไรกับเรา อันนี้สาคัญ ไม่ใช่ว่าเราเห็นอย่างไรก็ เป็นแค่นั้น แต่ในขณะที่...ถ้าสติเราเป็นตัวบอกว่า ถ้าสติเราแก่กล้าละเอียดขึ้น ละเอียดขึ้น ไวขึ้น ก็จะเห็น อาการภายในนั้น ยังมีอะไรอยู่ อาการที่เกิดขึ้นภายในนั้น อาการเกิดดับภายในนั้น ก็ยังมีการเปลี่ยนแปลง
ถามว่าเปลี่ยนแปลง เกิดดับพร้อมกันในชุดเดียว หรือเกิดดับทีละขณะ เป็นขณะ เป็นแว็บ ๆ ๆ ๆ ดับทีละจุดไล่ไป ตรงนี้ก็เป็นตัวบอกว่า อาการที่ละเอียดแล้ว สติยังละเอียด ยังสามารถกาหนดได้เป็น ขณะ ๆ ต่อไปอีก นั่นหมายถึงว่า จิตจะตั้งมั่นขึ้น สติเราแก่กล้าขึ้น เห็นอาการพระไตรลักษณ์เกิดขึ้น และ อาการเกิดดับ สภาวธรรมยิ่งเกิดดับยิ่งละเอียด ยิ่งเห็นอาการเกิดดับละเอียดมากขึ้นเท่าไหร่ เราจะเห็นว่า ถ้าพิจารณา เราก็จะรู้ว่าที่เรายึดนี่นะ เรายึดตรงที่อาการเกิดดับละเอียด ๆ หรือว่าเพราะเรามองเห็นแต่ของ หยาบ ๆ เห็นแต่ว่ามันดับครั้งเดียว เกิดขึ้น
บางทไี มเ่ หน็ การเกดิ ดบั ของเสยี งดว้ ยซ้า เสยี งเกดิ ขนึ้ มา กร็ วู้ า่ เสยี งทมุ้ เสยี งแหลม เสยี งเพราะเสยี ง ไมเ่ พราะ เสยี งดี เสยี งไมด่ ี รแู้ ตว่ า่ เสยี ง นนั่ คอื รอู้ ะไร รคู้ วามเปน็ บญั ญตั ิ ความเปน็ กลมุ่ กอ้ นของเสยี ง นคี่ อื ยังเป็นบัญญัติ แต่พอเป็นสติมีกาลังมากขึ้น เห็นอาการเกิดดับมากขึ้น ความรสู้ ึกก็ต่างไป การที่เราฟังเสียง รู้ว่าเสียงเพราะ เสียงไม่เพราะ เสียงทุ้ม เสียงแหลม เสียงหนัก เสียงเบา เสียงเหล่านั้นนะ ถ้าเป็นบัญญัติ ก็จะเป็นที่อาศัยของกิเลสได้ คือชอบไม่ชอบนะ ชอบหรือไม่ชอบ มีโลภะ โทสะ โมหะเกิดขึ้น ก็ไปยึด แล้ว ก็ทาให้อกุศลเกิดขึ้นมา
แตเ่ มอื่ พจิ ารณาเหน็ ชดั ลงไป สตแิ กก่ ลา้ ขนึ้ เหน็ อาการเกดิ ดบั ในเสยี งนนั้ อกี พอเหน็ อาการเกดิ ดบั ใน เสียงนั้น ตรงนี้เราจะข้ามอะไร ข้ามความเป็นบัญญัติ ฆนะบัญญัติ ข้ามความทุ้มความแหลมของเสียง จะมี แต.่ ..เขา้ ไปกา หนดรู้ ถงึ อาการเกดิ ดบั ของเสยี ง กลายเปน็ เหน็ อาการเกดิ ดบั ของเสยี งทเี่ ปน็ ขณะ ๆ ละเอยี ด