Page 63 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การดูสภาพจิต
P. 63
583
ความเขา้ ใจผดิ ความเหน็ ผดิ ความเชอื่ แบบผดิ ๆ ทตี่ ามมาวา่ รปู เปน็ ของเทยี่ ง เปน็ ของเรา เปน็ ของ คนนนั้ ของคนนนี้ นี่ ะ เพราะสงิ่ นจี้ งึ เขา้ ไปยดึ ยดึ แลว้ ทา ใหเ้ ปน็ ทกุ ขข์ นึ้ มา การพจิ ารณาอาการพระไตรลกั ษณ์ จะเป็นไปเพื่ออะไร ก็เพื่อละ เพื่อคลาย เพื่อการขัดเกลาจิตใจ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เราละอวิชชา ความ ไม่รู้ ความไม่เข้าใจ เพราะสิ่งที่เกิดขึ้นน่ะ บางขณะ บางเรื่อง บางอย่าง ไม่สามารถนั่งคิดเอาได้ ต้องอาศัย การเข้าไปกาหนดรู้ให้ชัดเจน
เพราะฉะนนั้ สงั เกตวา่ สภาวธรรมทเี่ กดิ ขนึ้ ในชวี ติ ประจา วนั ของเรา ทกุ ๆ อารมณท์ เี่ กดิ ขนึ้ ในชวี ติ ประจาวันของเรา จัดเป็นสภาวธรรม ตรงไหนที่เป็นสภาวธรรม ทุก ๆ อาการที่แสดงพระไตรลักษณ์ ทุก ๆ อารมณ์ที่มีการเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป ก็คือสภาวธรรม และสภาวธรรมที่เสมอกัน ที่เราบอกว่า บางครั้ง จะทาจิตให้เป็นกลาง ให้รักษาความเป็นกลางของสภาพจิต ความนิ่ง ความเฉย ความไม่ยินดีพอใจใน อารมณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น พยายามรักษาความเป็นกลางของจิต
จรงิ ๆ ความเปน็ กลางของจติ อยตู่ รงไหน ถา้ เรายดึ มอี ปุ าทาน แมแ้ ตย่ ดึ ความเฉยกย็ งั เปน็ อปุ าทาน แต่ความเป็นกลาง คือความเป็นสิ่งที่เสมอกันแก่สังขารทั้งปวง คืออะไร ธรรมทั้งหลายทั้งปวงที่มีลักษณะ เสมอกัน ทั้งหมดเลย ก็คือความเป็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ไม่เลือกว่าเป็นรูป เป็นนาม เป็นเรา เป็นเขา เป็นใคร เป็นความสุข เป็นความทุกข์ เป็นอุเบกขา เป็นความนุ่มนวลอ่อนโยน เป็นความผ่องใส อยู่ในกฎ ไตรลักษณ์แบบเดียวกัน นั่นคือความเป็นกลาง ความเสมอภาค ความเสมอภาคของสภาวธรรม ทั้งหมด ทั้งมวล รูปนามทั้งหมด ล้วนอยู่ในกฎของไตรลักษณ์ คือความเป็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา
การพิจารณา และการเห็นถึงความจริงข้อนี้ การที่เห็นถึงความจริง ให้เห็นถึงความเป็นธรรมชาติ ที่ เสมอกันแก่สังขารทั้งปวง แล้วจิตคลายจากอุปาทาน จิตคลายจากอุปาทาน ไม่เข้าไปหลง ไม่เข้าไปยึด ใน ธรรมชาติของขันธ์ทั้งหลายทั้งปวง ลองดูว่า จิตที่ไม่เข้าไปหลง ไม่ยึด ไม่ปฏิเสธอารมณ์นั้น จิตดวงนั้นจะ เป็นอย่างไร จิตตรงนั้นจะเป็นอย่างไร อย่างที่เรายกจิตขึ้นสู่ความว่าง แยกรูปแยกนามออกมา พิจารณาถึง ความเป็นไปของอารมณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น ไม่เข้าไปยึด ไม่ปฏิเสธ ลองดูว่า จิตดวงนั้นจะเป็นอย่างไร
มีความอิสระขึ้นมานี่นะ จิตที่ไม่พ้นจากเครื่องพันธนาการเป็นอย่างไร เราจะรู้ว่า จิตที่ไม่ถูก พันธนาการ ด้วยความอยาก ด้วยความโลภ ด้วยความโกรธ ด้วยความหลง ด้วยความเข้าใจผิดนั้นเป็น อย่างไร แม้แต่ความว่างเอง แม้แต่จิตที่ว่างเอง ถ้าเราพยายามยึดความว่างก็ยังเหนื่อย แม้แต่พยายามยึด ความว่างก็ยังเหนื่อย ยังหนัก เพราะฉะนั้น ทาอย่างไรถึงจะไม่ยึด การไม่ยึดไม่ใช่ไม่ให้ความว่างนั้นเกิด การไม่ยึด คือทาจิตให้ว่างเอง จิตกับความว่าง จิตที่ทาหน้าที่รู้กับจิตที่ว่าง เป็นส่วนเดียวกันเหมือนกัน หมด ไม่มีอะไรแบก มีแต่จิตที่ว่างทาหน้าที่รับรู้อารมณ์ ว่างจากตัวตน ทาหน้าที่รับรู้อารมณ์ที่เกิดขึ้น ตาม เหตุปัจจัยของตน ๆ
เพราะฉะนั้น การพิจารณาแบบนี้นี่ ลองดูว่าการเห็นแบบนี้ ทาให้สภาพจิตใจเป็นอย่างไร ไม่ใช่แค่ จิตใจเป็นอย่างไร ชีวิตของเราเป็นอย่างไร เพราะชีวิตการเป็นอยู่ของคนเรานี่นะ ที่บอกว่าจิตเป็นนาย การ เป็นอยู่ของเรา อยู่เป็นสุขไม่สุข ก็อยู่ด้วยจิตของเรา จิตคิดอย่างไร สภาพจิตใจเป็นอย่างไร คิดอย่างไร