Page 22 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การพิจารณาหัวข้อธรรม
P. 22

882
ปรยิ าย เมอื่ เรามเี จตนาทจี่ ะเจาะสภาวะเมอื่ ไหร่ อาการเกดิ ดบั กจ็ ะปรากฏชดั ขนึ้ มาทนั ที เพราะอะไร ? เพราะ เมื่อมีเจตนาที่จะรู้อาการเกิดดับ ก็จะเห็นอาการเกิดดับ
ทา ไมถงึ เหน็ อาการเกดิ ดบั ไดง้ า่ ย ? เพราะปญั ญาเกดิ ขนึ้ มาแลว้ เรารวู้ า่ ตอ้ งไปรจู้ ดุ ไหนถงึ เหน็ อาการ เกิดดับของอารมณ์นั้น ๆ ไม่ได้แค่มองผ่านเฉย ๆ นั่นแหละคือปัญญาที่เคยได้เห็น เคยได้รู้ เคยทา จึงจา ได้ รู้ว่าต้องไปรู้จุดไหนอย่างไรถึงจะเห็นอาการพระไตรลักษณ์ เห็นถึงอาการเกิดดับนั้นได้เร็ว ตรงนี้แหละ ปัญญาที่เกิดมาแล้วสานต่อได้ ถึงแม้ว่าเราไม่ได้เจาะสภาวะ ผ่านไปสักสองสามชั่วโมงหรือสี่ชั่วโมงก็ตาม แต่เมื่อมีเจตนาที่จะเจาะสภาวะเมื่อไหร่ อาการพระไตรลักษณ์อาการเกิดดับก็จะปรากฏชัดขึ้นมาให้เห็น แล้วก็จะสามารถเจาะสภาวะต่อไปได้
ตามหลักของวิปัสสนาแล้ว สภาวะยิ่งเป็นปรมัตถ์ คือยิ่งละเอียดมากขึ้น ความเป็นรูปร่างหายไป ยิ่งต้องนิ่งยิ่งต้องใส่ใจ เพราะสภาวะปรมัตถ์บางครั้งไม่ได้เห็นด้วยตาเปล่า จึงต้องเพิ่มกาลังของสติและ สมาธใิ หม้ ากยงิ่ ขนึ้ เขาเรยี กวา่ “ทา สตสิ มาธใิ หแ้ กก่ ลา้ ปญั ญาใหเ้ ฉยี บแหลมมากขนึ้ ” คอื การใสใ่ จ สงั เกตให้ แยบคายมากขึ้น ไม่ใช่แค่เห็นว่าว่าง ๆ แล้วก็ผ่านไป ไม่ได้สนใจเลยว่าตัวความว่างเองเปลี่ยนอย่างไร แล้ว ความว่างนี่ว่างจากอะไร ? ว่างจากความคิด หรือว่างจากเสียง ? พอไม่มีเสียงรบกวนก็เลยคิดว่าไม่มีอะไร มีแต่ว่าง ๆ แต่ในขณะที่ว่าง ๆ ไม่มีเสียงรบกวน ไม่มีอะไรให้ดู ก็เลยคิดเรื่อยเปื่อยไป อันนั้นเขาไม่เรียกว่า ว่างแล้ว เรียกว่าสติอ่อน รู้ไม่ทันความคิด ทั้ง ๆ ที่กาลังมีความคิดเกิดขึ้นอยู่
เราจะเจาะสภาวะอยา่ งตอ่ เนอื่ งตลอดเวลาไดไ้ หม ? ผปู้ ฏบิ ตั คิ งเคยเหน็ วา่ เจาะสภาวะตรงนใี้ ชพ้ ลงั จติ พอสมควร การที่จะเจาะได้ตลอดเวลาเป็นเรื่องทาได้ยาก ยิ่งสภาวะเกิดดับชัด ๆ เร็ว ๆ เรามุ่ง มุ่ง มุ่ง มุ่งไป แปบ๊ เดยี วหมดพลงั เหนอื่ ยกต็ อ้ งพกั คา วา่ “พกั ” ไมไ่ ดห้ มายความวา่ ไปนอนพกั หรอื เปลยี่ นอารมณไ์ ปเลย ทเีดียวพออาการเกดิดับหมดไปแล้วรู้สึกเหนอื่ยนดิหนึ่งหายใจยาวๆแล้วกน็ิ่งยังไม่ต้องมงุ่นิ่งเพมิ่พลัง ให้เต็ม เมื่อจิตมีกาลังตั้งมั่นขึ้น เต็มมากขึ้น อิ่มขึ้น อาการเกิดดับที่ปรากฏเฉพาะหน้าชัดขึ้นมาอีก ก็ตาม กาหนดรู้ต่อไป ในขณะที่เจาะสภาวะมุ่งเข้าไปรู้ขณะต่อไป ก็ต้องสังเกตว่าอาการเกิดดับคราวนี้ต่างจากเดิม อย่างไร ชุดที่แล้วเป็นแบบนั้น พอเกิดขึ้นมาใหม่ มุ่งไปครั้งนี้ อาการเกิดดับเปลี่ยนไปอย่างไร
นี่คือการเจาะสภาวะ พร้อมกับสังเกตสภาวธรรมที่เปลี่ยนไป พิจารณาอาการพระไตรลักษณ์ที่ เกิดขึ้น เขาเรียกว่า “ธัมมวิจยะ” ใส่ใจเข้าไปสังเกตดูว่าอาการที่เกิดขึ้นมาเกิดดับในลักษณะที่เปลี่ยนไป อย่างไร นี่คือวิธีพัฒนาสติ สมาธิ ปัญญา เมื่อไม่มีเรา เห็นชัดไหมว่า อาการที่เกิดขึ้นกับจิตที่ทาหน้าที่รู้ เขาเป็นคนละส่วนกัน ? เมื่อเห็นเป็นคนละส่วนกัน จาเป็นต้องคล้อยตามไหลตามอารมณ์เสมอไปไหม ? ผสั สะทเี่ กดิ ขนึ้ มากระทบทางตา หู จมกู ลนิ้ กาย ใจ ทงั้ ทดี่ แี ละไมด่ ี จา เปน็ ตอ้ งไหลตามอารมณน์ นั้ เสมอไป หรือเปล่า ? เราจะอาศัยสัญชาตญาณอย่างเดียว หรือจะอาศัยปัญญาที่พัฒนาขึ้นแล้วมาใช้งานให้มากขึ้น ?
เราจะอาศยั สญั ชาตญาณอยา่ งเดยี ว กระทบปบุ๊ สะดงุ้ หรอื จะอาศยั สติ อาศยั ปญั ญาทพี่ ฒั นาขนึ้ แลว้ มาใช้งานให้มากขึ้น ? เราควรมีเจตนาที่จะใช้สติ-สมาธิ-ปัญญาที่พัฒนาดีขึ้นแล้วมาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ มากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้กับชีวิตของเรา เพื่ออะไร ? ก็เพื่อตัวเราเอง เพื่อความสงบ ความสุข ความอิสระ


































































































   20   21   22   23   24