Page 66 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การพิจารณาหัวข้อธรรม
P. 66

926
ในแต่ชีวิตที่ผ่านมา เราทุกข์กับเรื่องอะไร หรือเราอยากจะออกจากทุกข์ จากทุกข์แบบไหน จาก ทุกข์ทางกายทุกข์ทางใจของเรา อันนี้อย่างหนึ่ง ถ้าเรารู้แบบนี้นี่นะ งานที่เราต้องทาก็ไม่ใช่เรื่องยาก งานที่ เราจะออกจากทุกข์ไม่ใช่เรื่องไกล เพียงแต่ความเข้าใจของเรานี่นะ ถ้าเรามีเป้าหมายตรงนี้ก็จะง่ายขึ้น อย่างเช่น ถ้าเรารู้ว่า การที่เราปฏิบัติธรรม มีเป้าหมายเพื่อการออกจากทุกข์ แล้วสิ่งที่เราต้องทาคืออะไร สิ่ง ที่เราต้องทาคืออะไร สิ่งที่ต้องทา คือแนวทางหรือที่เรียกว่า มรรค คือแนวทางการเดิน ที่จะเดินไปสู่ความ ดับทุกข์
การเดินทางไปสู่ความดับทุกข์นั้น ทาอย่างไร ใช้อะไร อย่างที่เราบอกว่าศีล สมาธิ ปัญญา ก็คือตัว มรรคแปด ที่เราใช้คาว่าศีล สมาธิ ปัญญา มรรคแปดย่อลงมาเหลือ ศีล สมาธิ ปัญญา แต่สิ่งที่เราต้องทา คือ สติ สมาธิ ปัญญา คือสติสมาธิและปัญญาที่เราต้องใช้ สังเกตไหมเพราะอะไร ศีลคือการสารวมกาย วาจา ถ้าเรามีเจตนาที่ดี ที่จะระวังกายวาจาของเรา เจตนาที่ดี แล้วการที่จะสารวมระวังให้ทันนั้น ทาอย่างไร ก็ต้องอาศัยสติสมาธิและปัญญา คอยกากับคอยดูแล อาการทางกาย ทางวาจาของเรา ไม่ให้เป็นไปในทาง อกุศลกรรม
เขาเรียกเป็นกรรมทางกาย วาจา วจีกรรม กายกรรม วจีกรรม มโนกรรมมันเกิดขึ้นอยู่แล้วนะ บางทีมโนกรรม...เราคิดอยู่คนเดียวไม่มีใครรู้ คิดอยู่คนเดียว ทุกข์อยู่คนเดียว ถ้าเป็นวจีกรรม กายกรรม วจีกรรมออกมานี่นะ ทั้งตัวเองและผู้อื่นก็รับผลกระทบไปด้วย เพราะฉะนั้น ศีลคือการสารวจกายวาจา แต่ที่เรามาปฏิบัตินี่นะ ปฏิบัติเพื่อการออกจากทุกข์ เราใช้อะไร สติ สมาธิ ปัญญา พิจารณาถึงสภาวธรรม ที่เกิดขึ้น ถึงความเป็นจริงของสภาวธรรม ของรูปนามขันธ์ ๕
ธรรมชาตขิ องกายของจติ เรา วา่ จรงิ ๆ แลว้ เปน็ อยา่ งไร ตรงนแี้ หละ ทเี่ รา...เปน็ แนวทางทจี่ ะออกจาก ทุกข์ เป็นแนวทางที่จะพ้นจากทุกข์ทั้งปวงได้ เพราะฉะนั้น เมื่อเรารู้แบบนี้แล้ว สิ่งที่เราต้องทา พระพุทธเจ้า สอนใหเ้ ราพจิ ารณาอะไร พระพทุ ธเจา้ ตรสั ถงึ อะไร พระพทุ ธเจา้ ตรสั ถงึ วา่ ธรรมะทเี่ ปน็ ไปเพอื่ ความดบั ทกุ ข์ นั้น การที่เราจะออกจากทุกข์ได้คือ การคลายอุปาทาน การที่ไม่เข้าไปยึดในรูปนามขันธ์ ๕ คือรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ไม่ให้เข้าไปยึด ว่าเป็นตัวเราของเรา
ทาไมถึงบอกว่า เอ๊ะ! ขันธ์ทั้ง ๕ นี้ อยู่ตรงไหนนะ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ อยู่ตรงไหน ไมต่ อ้ งไปหาไกล กา ลงั นงั่ อยเู่ ปน็ แถว...นนี้ แี่ หละ ทกุ คนมขี นั ธ์ ๕ ครบทงั้ นนั้ ทกุ คนนนั้ มขี นั ธ์ ๕ เปน็ ของตวั เอง ขันธ์ ๕ คือ รูปคือร่างกาย เวทนาคือความเจ็บปวด เมื่อย ชา คัน ความสบายใจ ไม่สบายใจ ความทุกข์ ความสุข ความเฉยที่เกิดขึ้น เขาเรียกว่า เป็นเวทนาทางใจ เจ็บปวด เมื่อย ชา คัน เป็นเวทนาทางกาย
เพราะฉะนั้น คือขันธ์ ๆ หนึ่งที่เกิดขึ้น ที่เรานั่งอยู่นี่นะ ขันธ์อันนี้ เวทนาทางกาย เป็นเรื่องปกติที่ เราสามารถรับรู้ได้ เมื่อร่างกายเกิดการเปลี่ยนแปลง อย่างเช่น บางทีเรานั่งนาน ๆ ก็ปวดก็เมื่อย นอนนาน ก็ไม่สบายนะ ปวดเมื่อย แต่เวทนาทางจิตนี่นะ ถึงนั่งเฉย ๆ บางครั้งก็มีเวทนาทางจิตเกิดขึ้น เพราะเวทนา ทางจติอาศัยทวารทงั้หกเวทนาทางจตินนั้อาศยัทวารทงั้หกคอืการเหน็การได้ยนิความคดิรปูเสยีงกลนิ่ รส สัมผัส ธรรมารมณ์ที่เกิดกับใจของเรา ส่งผลให้จิตใจเรา เป็นเวทนาทางจิต


































































































   64   65   66   67   68