Page 68 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การพิจารณาหัวข้อธรรม
P. 68

928
ตามรแู้ บบนอี้ ยา่ งตอ่ เนอื่ ง เขาเรยี กวา่ รคู้ วามเปลยี่ นแปลง รกู้ ารเกดิ ขนึ้ ตงั้ อยู่ ดบั ไป ของลมหายใจ เขา้ ออก เราไมต่ อ้ งปรงุ แตง่ นะ ไมต่ อ้ งไปปรงุ แตง่ ไมต่ อ้ งไปกงั วลวา่ มนั จะยาว ตอ้ งยาวแบบนตี้ อ้ งยาวเทา่ นี้ ต้องสั้นเท่านี้...ไม่ต้อง หน้าที่ของผู้ปฏิบัติ ตามรู้ตามความเป็นจริง ยาวก็รู้ว่ายาว สั้นก็รู้ว่าสั้น สนุกกับการ ตามรู้ความเปลี่ยนแปลงไปเรื่อย ๆ และการตามรู้ มีสติตามรู้อารมณ์ปัจจุบันแบบนี้ การตามรู้ลมหายใจ เข้าออก แล้วเราสนใจว่าหายใจเข้าสุดอย่างไร หมดแบบไหน หายใจออกสุดอย่างไร หมดอย่างไร ยาวสั้น ต่างกันอย่างไร
ตรงนี้เขาเรียกว่าเป็นการเพิ่มปัญญา ปัญญาคือภาวนามยปัญญา รู้ถึงความไม่เที่ยงของลมหายใจ ว่า จริง ๆ ลมหายใจของเราเข้าออกทุกวันนี่นะ ไม่เท่ากัน เรารู้...ไม่เท่ากัน ถ้าเราไม่เห็น สติเราจะเพิ่มไหม ปัญญาเรา...เราจะเชื่อ เราจะมั่นใจแค่ไหน เพราะฉะนั้น การตามรู้ลมหายใจ เขาจะเร็วจะช้า จะบาง จะเบา จะเป็นเส้น จะเป็นคลื่น มีอาการเป็นฝอย มีอาการสะดุดเป็นจุด ๆ เป็นลูกไข่ปลาไป ก็ตามรู้ตามนั้น นี่คือ ความแตกต่างที่จะเกิดขึ้น...ความเปลี่ยนแปลง
และการตามรู้แบบนี้ สติเราอยู่เป็นปัจจุบันต่อเนื่องนี่นะ สมาธิเราก็จะยาวขึ้น จิตเราจะนิ่งขึ้น ดีขึ้น และการใส่ใจอาการเปลี่ยนแปลงอันนี้นี่นะ จิตจะตื่นตัวไม่หลับง่าย เพราะอะไร จิตของเรา ธรรมชาติของ จิตเรา ชอบดูอะไรใหม่ ๆ ไม่ชอบอยู่กับอะไรที่ซ้า พอซ้า ๆ ไม่นานเขาก็หลับ ไม่มีอะไรตื่นเต้น เราจึงใช้ ธรรมชาติของจิตตรงนี้ มาพิจารณาอาการพระไตรลักษณ์ ไม่ใช่ว่าเราไปบังคับให้เป็น แต่เจตนาที่จะรู้ถึง ธรรมชาติของลมหายใจ ลมหายใจเป็นอะไร เป็นอาการทางกาย เป็นรูป เป็นอาการทางกาย เป็นรูป ตรงนี้ เป็นรูปขันธ์ เป็นอาการของรูปขันธ์ รู้ว่าเปลี่ยนแปลงอย่างไร อันนี้อย่างหนึ่ง
ตรงนี้จะเป็นอารมณ์หลัก ในขณะที่เรานั่งกรรมฐานนั่งสมาธิ อันนี้การที่เราตามรู้ลมหายใจ ถามว่า เราตอ้ งใชค้ า บรกิ รรมอะไร เราตอ้ งใชค้ า บรกิ รรมไหม ใชบ้ รกิ รรมอะไร ไมต่ อ้ งใชค้ า บรกิ รรมกไ็ ด้ คา บรกิ รรม แบบไหน...หายใจ บางทีคาบริกรรมก็คือ หายใจเข้าพุท หายใจออกโธ หรือใช้คาบริกรรมอันนี้...เป็น คาบริกรรม อาจจะใช้คาอื่น แต่ตรงนี้เขาเรียกว่าคาบริกรรม แต่การกาหนดรู้ อาการที่เป็นอารมณ์ปัจจุบัน คอื รชู้ ดั ใหส้ งั เกตอาการใหช้ ดั ไปเลย ใชก้ ไ็ ด้ ไมใ่ ชก้ ไ็ ด้ ใชค้ า บรกิ รรมกา กบั ไปดว้ ยกไ็ ด้ หรอื ไมใ่ ชก้ ไ็ ด้ อนั นี้ คือการกาหนดลมหายใจ เป็นอาการทางกาย
อกี อยา่ งหนงึ่ กค็ อื วา่ บางทเี รานงั่ แลว้ ไมม่ ลี มหายใจนะ บางคนรสู้ กึ วา่ นงั่ แลว้ ไมร่ สู้ กึ เลยวา่ ลมหายใจ เข้าเป็นอย่างไร หายใจออกเป็นอย่างไร แต่ไปรู้อาการกระเพื่อมที่ท้อง หายใจเข้าท้องพองออก หายใจออก ท้องยุบลง ถ้าเป็นอย่างนั้นนี่นะ ให้สังเกตอาการที่ท้องไปเลยว่า หายใจเข้าท้องพองออก หายใจออกยุบลง กาหนดรู้แบบเดียวกัน พองสุด...จนสุดแล้ว ก็มีอาการหยุดหรือหายไปก่อนไหม แล้วยุบ ยุบสุดแล้ว มี อาการหยุดแล้วหายไปอย่างไร กาหนดรู้เหมือนลมหายใจเข้าออก อันนี้คือหลักการ
เพราะอะไร เพราะหลักการของการเจริญวิปัสสนากรรมฐาน เป็นวิธีการเพิ่มปัญญาของเรา ปัญญา รู้อะไร รู้สัจธรรมตรงที่ว่า ความเป็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา คือการเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป ของทุก ๆ อารมณ์ ที่เกิดขึ้น เพราะฉะนั้น ไม่ว่าจะเป็นลมหายใจ ไม่ว่าจะเป็นพองยุบ เราก็ต้องกาหนดรู้แบบเดียวกัน จะเป็น


































































































   66   67   68   69   70