Page 67 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การพิจารณาหัวข้อธรรม
P. 67

927
เป็นเวทนาแบบไหน สิ่งที่เราห่วงที่สุดก็คือว่า ทุกขเวทนาทางใจ มีความทุกข์ มีความไม่สบายใจ เกิดขึ้น มีอาการกระทบทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ เกิดขึ้นมาแล้ว เกิดความไม่สบายใจ อันนั้นแหละที่เรา ไม่ชอบ เราพยายามที่จะละ เพราะฉะนั้นการที่เราละ คือละทุกขเวทนา ความทุกข์ตรงนี้แหละ ทุกข์ทางใจ ที่เกิดขึ้น ทุกข์ทางกายเมื่อ...เราเกิดขึ้นแล้ว เกิดขึ้นมาแล้วนี่นะ ความทุกข์ทางกายเป็นเรื่องปกติ แต่ทุกข์ ทางใจอาจจะไม่ปกตินะ
เ พ ร า ะ ว า่ ค ว า ม ท กุ ข ท์ า ง ใ จ น นี ่ ะ บ า ง ค น ท กุ ข ์ บ า ง ค น ไ ม ท่ กุ ข ์ เ พ ร า ะ อ ะ ไ ร บ า ง ค น ท กุ ข เ์ พ ร า ะ ข า ด ป ญั ญ า บ า ง ค น ไ ม ท่ กุ ข เ์ พ ร า ะ ม ปี ญั ญ า ร เ้ ู ท า่ ท นั อ า ร ม ณ ท์ เี ่ ก ดิ ข นึ ้ พ อ ร เ้ ู ท า่ ท นั อ า ร ม ณ ท์ เี ่ ก ดิ ข นึ ้ เ ข า้ ใ จ ใ น ธ ร ร ม ช า ต ิ ข อ ง ส ภ า ว ะ ข อ ง อ า ร ม ณ ท์ เี ่ ก ดิ ข นึ ้ จ งึ ท า ใ ห ไ้ ม ท่ กุ ข ก์ บั อ า ร ม ณ เ์ ห ล า่ น นั ้ ต ร ง น แี ้ ห ล ะ ป ญั ญ า ต ร ง น นี ้ นี ่ ะ ท เี ่ ร า ส า ม า ร ถ พัฒนาได้ ที่เราสามารถพัฒนา ปัญญาตรงนี้ เขาเรียกว่าเป็นปัญญาทางธรรม ปัญญาทางธรรมตรงนี้ หนึ่ง เกิดจากการพิจารณา ที่เราเรียกว่าจินตมยปัญญา หรือสุตมยปัญญา เกิดจากการฟัง การคิด และที่สาคัญ คือ เกิดจากการปฏิบัติธรรม
การที่เราเห็นด้วยตาปัญญาของเราเองนี่แหละ เราจะมีความเชื่อมั่นในการปฏิบัติ ในธรรมะของ พระพุทธเจ้า ถ้าเราเห็นเองเข้าถึงเอง จิตใจเกิดความสงบ เกิดความเบิกบาน เกิดความว่าง เกิดความอิสระ หรือเกิดความผ่องใสขึ้นมา เมื่อนั้นแหละ เราจะมั่นใจในธรรมะของพระพุทธเจ้า และเราก็เป็นผู้ได้สัมผัส ถึงรสชาติแห่งธรรมอันนั้น ๆ อันนี้คืออย่างหนึ่ง เพราะฉะนั้น ขณะที่เราปฏิบัติธรรม การงานที่เราต้องทา คือมีสติ มีสติรู้อยู่กับปัจจุบันให้มาก
มีสติรู้อยู่กับปัจจุบัน อะไรบ้าง อารมณ์ปัจจุบันตรงนี้แหละ มาถึงการที่เรามีอารมณ์หลัก ในการ เจริญวิปัสสนากรรมฐาน สติปัฏฐาน ๔ ย่อลงมาเหลือ ๔ อย่าง เป็นอารมณ์หลัก ๆ ที่เราต้องใส่ใจ ผู้ปฏิบัติ ธรรมต้องใส่ใจ ก็คือ หนึ่ง อาการทางกาย อาการทางกายคือ อาการของลมหายใจเข้าออก อาการพองยุบ อาการเต้นของหัวใจ ความเย็น ความร้อน อาการเคร่งตึง ความหนัก ความเบาที่เกิดขึ้นตามร่างกาย หรือ เกิดทางกายของเรา ตรงนี้ เขาเรียกเป็นอาการทางกาย
อาการทางกายที่เกิดขึ้น เมื่ออาการเหล่านี้เกิดขึ้น หน้าที่ของผู้ปฏิบัติควรทาอย่างไร หน้าที่ของ ผู้ปฏิบัติธรรมนี่นะ สิ่งที่เราต้องพิจารณาคือ รู้การเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป เขาเรียกรู้ความเป็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา รู้การเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป ของอารมณ์นั้น ๆ ยกตัวอย่างเช่น อันนี้ยกตัวอย่าง สามารถทาได้เลย นะ เราสามารถปฏิบัติได้เลย เพียงแต่ว่ายกตัวอย่าง เพราะว่าสิ่งเหล่านี้ จะเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นเป็นปกติ ในชีวิต ของเรา
ในชีวิตประจาวันของเราก็คือ หนึ่ง คือลมหายใจเข้าออกนี่นะ เวลาเราหายใจเข้า ใครที่เคยกาหนด ลมหายใจ นั่งสบาย ๆ นั่งสงบ ๆ ไม่ต้องไปกังวล แล้วก็คอยใส่ใจอาการของลมหายใจ เวลาหายใจเข้าออก ใหม้ สี ติ หรอื ใสใ่ จอาการของลมหายใจเขา้ จนสดุ หายใจออกจนสดุ หายใจเขา้ สดุ เขามอี าการหยดุ มอี าการ หายไปก่อนไหม ก่อนที่จะหายใจออกมา หายใจออกมาสุด มีอาการหยุด มีอาการหายไปอย่างไร ก่อนที่จะ หายใจเข้าไปใหม่


































































































   65   66   67   68   69