Page 70 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การพิจารณาหัวข้อธรรม
P. 70

930
เพราะฉะนนั้ เวลาเรานงั่ กรรมฐาน เวลาเรานงั่ กรรมฐาน ขอใหเ้ ราใสใ่ จอารมณป์ จั จบุ นั ใหม้ าก อาการ ไหนเกิดขึ้นมาก็ตาม ให้พอใจที่จะเข้าไปกาหนดรู้ ถึงการเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป ของอารมณ์นั้น ให้ต่อเนื่อง ให้มากที่สุดเท่าที่จะเป็นไป เท่าที่จะเป็นไปได้นะ นอกจากอาการทางกาย อีกอย่างหนึ่งที่เป็นอารมณ์ที่จะ ปรากฏเกิดขึ้นมา ในขณะที่เรานั่งสมาธิ หรือเจริญกรรมฐานนี่นะ อีกอย่างหนึ่งก็คือเวทนา อย่างที่บอกแล้ว เวทนามีอยู่ ๒ ทาง หนึ่งเวทนาทางกาย อีกอย่างหนึ่งก็คือ เวทนาทางจิต
เวทนาทางกายที่เกิดขึ้นอย่างเช่น เจ็บ ปวด เมื่อย ชา คัน อันนี้จะเกิดขึ้นแน่นอน ทุกครั้งเวลาเรา นงั่ กรรมฐาน เวลาเรานงั่ กรรมฐานเกดิ ขนึ้ แนน่ อน เกดิ ขนึ้ เมอื่ ไหรน่ นั้ อกี อยา่ งหนงึ่ จะเกดิ ขนึ้ ตอนไหน ตอน เริ่มนั่ง หรือนั่งไปสักระยะแล้วค่อยเกิดขึ้นมา แต่ถ้าเรานั่งกรรมฐานไปเรื่อย ๆ เขาจะปรากฏเกิดขึ้นมา และ เวทนานนี่ เี้ ปน็ เวทนาสภาวธรรม ถา้ เปน็ เวทนาสภาวธรรมทเี่ กดิ ขนึ้ ไมเ่ กยี่ วกบั การเจบ็ ไขไ้ ดป้ ว่ ย ไมเ่ กยี่ วกบั การเจ็บไข้ได้ป่วยนะ อยู่ ๆ เขาก็เกิดขึ้นมา และแม้แต่ความปวด เวทนาที่เกิดขึ้นจากความเจ็บไข้ได้ป่วย ถ้ามีสติเข้าไปกาหนดรู้ถึงความจริง อย่างไม่มีตัวตน เวทนานั้นก็เป็นสภาวธรรมเช่นเดียวกัน เห็น...กาหนด รู้ถึงการเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป ของสภาวธรรมที่เกิดขึ้น
ทีนี้เวลาเรานั่งเวลานั่งกรรมฐาน ถ้าเกิดมีความปวดขึ้นมาทาอย่างไร ให้ตั้งสติดี ๆ เข้าไปกาหนดรู้ ความไม่เที่ยงของความปวด ความไม่เที่ยงคือ การเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป ของความปวดแล้ว...เป็นอย่างนี้ มีปวดเป็นแท่ง แล้วเคลื่อนไป เคลื่อนไป บิดไป แล้วก็หายไปจางไป ปวดแล้วแรงขึ้น ๆ แล้วก็หยุดค้างสัก พัก แล้วค่อย ๆ จางหายไป นั่นคือรู้ความไม่เที่ยง เขาเรียกว่าเวทนาไม่เที่ยง เวทนาไม่เที่ยง แต่การกาหนด รู้...เมื่อรู้ว่าไม่เที่ยงแล้วเราจาเป็นต้องสู้ไหม จาเป็นต้องกาหนดรู้ไหม จาเป็นนะ จาเป็น ๆ
ทาไมถึงจาเป็น จาเป็นตรงที่ว่า ถ้าเรากาหนดความปวด กาหนดเวทนาที่เกิดขึ้น จะทาให้จิตเราตื่น ตัว จะทาให้จิตเรามั่นคง เขาเรียกจะมีขันติ มีความอดทน มีความเข้มแข็ง จิตตื่นตัวขึ้นมาด้วย ถ้าเราหลบ อย่างเดียว แล้วก็หลับอย่างเดียวอันนั้นก็ไม่ดี หลบเวทนาแล้วนั่งหลับก็ไม่พัฒนา สติไม่เพิ่มขึ้น สมาธิไม่ เพิ่มขึ้น ได้แค่พักผ่อนอย่างเดียว แล้วเวทนานี้ เป็นธรรมชาติของสภาวะที่เขาจะเกิด
อนั นที้ บี่ อกไว้ กอ่ นทที่ า่ นครบู าอาจารยต์ า่ ง ๆ ทา่ นสรปุ ไวใ้ หเ้ รา ทา ไมถงึ บอก เรอื่ งของกาย เวทนา จติ แล้วก็สภาวธรรมเวทนานุปสัสนาสติปัฏฐานคือการตามกาหนดร้อูาการของเวทนาว่ามคีวามเปลี่ยนแปลง เกิดดับอย่างไร อันนี้เวทนาทางกาย และเวทนาทางกายนี้แหละ ส่งผลให้จิตมีเวทนาอย่างไร ส่งผลให้จิตมี เวทนาอย่างไร เป็นทุกขเวทนา สุขเวทนา อุเบกขาเวทนา หรือโสมนัสเวทนา ขึ้นอยู่กับกาลังของสติ สมาธิ ปัญญาของเรา ในการพิจารณาดู
ในเบื้องต้นเราจะเห็นว่า โดยปกติ...เวลาเกิดความไม่สบายตัว หรือไม่สบายตัวมีเวทนาเกิดขึ้นนี่นะ ถ้าเราคนเราหลงเข้าไปยึด ว่าเวทนานั้นเป็นตัวเราเป็นของเรา จะทาให้จิตใจเกิดความขุ่นมัว ไม่สดชื่นไม่ เบิกบาน ทาให้จิตใจเกิดความห่อเหี่ยว ไม่สงบ บางที่เกิดความวุ่นวายกระสับส่ายเกิดขึ้น เพราะอะไร เวทนาทางกาย กายถูกบีบคั้นด้วยเวทนามาก ๆ พอจิตมีตัวตน มีความเป็นเรา เข้าไปยึดเอาเวทนานั้นเป็น ของเรา ทาให้จิตเกิดความขุ่นมัวเศร้าหมองเกิดขึ้น


































































































   68   69   70   71   72