Page 95 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การพิจารณาหัวข้อธรรม
P. 95

955
เปลยี่ นแปลงของจติ แมแ้ ตจ่ ติ เองกเ็ ปน็ ของไมเ่ ทยี่ ง แมแ้ ตจ่ ติ ทดี่ กี ม็ กี ารเปลยี่ นแปลง แตก่ ารเปลยี่ นแปลง ด้วยสติ ด้วยสมาธิและปัญญา เข้าไปพิจารณาอย่างนี้เรียกว่า ธัมมวิจยะ คือการสอดส่องธรรม พิจารณา ถึงสภาวธรรมที่กาลังปรากฏ ที่กาลังเปลี่ยนไป
ยิ่งเห็นการเปลี่ยนแปลงไปมากเท่าไหร่ ลองสังเกตดูว่า ยิ่งตามรู้จิตที่ว่าง ที่เบา ที่สงบ ที่ใส ยิ่งเห็น การเปลี่ยนไป กว้างไป ขยายออกไปเรื่อย ๆ ผลที่ตามมาเป็นอย่างไร ความเป็นกุศลของจิตมีกาลังมากขึ้น ไหม ถา้ จติ มสี มาธมิ ากขนึ้ กเ็ ปน็ พละ มสี ตมิ ากขนึ้ กเ็ ปน็ สตพิ ละอกี เปน็ พละเปน็ กา ลงั ทจี่ ะทา ใหเ้ หน็ อาการ พระไตรลักษณ์ อาการเกิดดับของอารมณ์ที่ละเอียด ยังเห็นได้ว่า มีการเปลี่ยนแปลงเกิดดับอย่างไร และ จิตยิ่งละเอียด ยิ่งผ่องใส ยิ่งกว้าง ยิ่งอิสระ จะทาให้เราเข้าใจ เข้าใจอารมณ์ที่เข้ามากระทบ ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ได้ง่ายขึ้น
เข้าใจผัสสะที่เข้ามากระทบ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ถ้าเราพิจารณาถึงเหตุปัจจัยของผัสสะ ที่เข้ามา กระทบทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ อารมณ์ที่เข้ามากระทบ ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ จะทาให้เข้าใจได้ ง่ายขึ้น ยิ่งเข้าใจเร็ว ก็วางเร็ว หยุดเร็ว สงบเร็ว อิสระเร็ว เช่นเดียวกัน นั่นคือผลที่ต่อเนื่องกันเกิดขึ้นมา แต่ถ้าจิตใจไม่มีความว่าง ไม่เบา ไม่อิสระ ความเข้าใจในอารมณ์ที่เข้ามากระทบ ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจก็เป็นไปได้ช้า ทาไมถึงเป็นไปได้ช้า เพราะว่าถ้ามีอกุศลคอยปิดบัง มีโมหะคอยปิดกั้น หรือมีทิฐิ มีอัตตา มีตัวตนคอยปิดกั้นอยู่ ก็จะทาให้เข้าใจในอารมณ์ที่เข้ามากระทบ ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ได้ช้า อันนี้ อย่างหนึ่ง
เพราะฉะนั้น การที่เราดูจิตในจิต การพัฒนาจิตของเราให้ละเอียด ให้ผ่องใส ให้กว้าง ให้อิสระมาก ขึ้น จึงเป็นสิ่งสาคัญ เป็นวิธีพัฒนาปัญญาของเรา ที่บอกว่า ธัมมวิจยะ การสอดส่องธรรม ยิ่งเห็นจิตที่ว่าง ที่กว้าง ที่เบาออกไป ไม่มีตัวตน ยิ่งไม่มีตัวตน จิตยิ่งอิสระ ยิ่งว่าง ยิ่งเบา ยิ่งสบาย ยิ่งสว่าง และอย่างหนึ่ง ที่เราสามารถบอกตัวเองได้เลย ก็คือว่า สภาพจิตขณะนั้น มีกิเลสตัวไหนเข้าไปอยู่ คลุกคลี หรือไปซ่อนอยู่ ตรงไหน มีโลภะ โทสะ โมหะ หรือมีแต่ความผ่องใส มีแต่ความสะอาดของจิต นี่คือการดูจิตในจิต ตรงนี้ ดูสภาพอย่างนี้เรียกว่า ดูจิตในจิต
เพราะฉะนั้น สภาวธรรม จะเห็นว่าสภาวธรรม ที่บอกว่าสติปัฏฐานทั้ง ๔ เป็นอารมณ์ ที่สืบเนื่องต่อ เนื่องกัน เพียงแต่สลับกันเกิดขึ้นมา ในบางขณะอาการทางกายปรากฏชัด ในบางขณะอาการทางจิตปรากฏ ชดั เปน็ สภาพจติ เปน็ ความคดิ ทเี่ กดิ ขนึ้ พดู ถงึ เรอื่ งของจติ การดจู ติ ในจติ อกี อยา่ งหนงึ่ กค็ อื เรอื่ งของความ คิด ความคิดก็เป็นเรื่องปกติในชีวิตของคนเรา เป็นเรื่องปกติเลย มีทั้งคิดดี คิดไม่ดี เป็นเรื่องปกติธรรมดา
แ ต ท่ สี ่ า ค ญั ก ค็ อื ว า่ ก า ร เ จ ร ญิ ส ต ิ พ ฒั น า ส ต ิ ส ม า ธ ิ ป ญั ญ า ข อ ง เ ร า เ พ อื ่ ใ ห เ้ ห น็ ช ดั ว า่ ค ว า ม ค ดิ ท เี ่ ก ดิ ข นึ ้ มานั้น ความคิดที่กาลังปรากฏเกิดขึ้นมา กับจิตที่ทาหน้าที่รู้ เป็นส่วนเดียวกันหรือเป็นคนละส่วนกัน ความ คิดเกิดขึ้นมา ผู้ปฏิบัติก็ควรกาหนดรู้ ก็ต้องกาหนดรู้ แบบเดียวกันกับการกาหนดรู้เวทนา แบบเดียวกัน กับการกาหนดรู้อาการของลมหายใจ หรือพองยุบ เพราะอะไร เพราะความคิดก็เป็นสภาวธรรม เป็นอาการ ทางจิต เป็นอาการที่ปรากฏขึ้นกับจิต อาศัยจิตเป็นตัวตั้ง


































































































   93   94   95   96   97