Page 238 - การให้รหัสโรค
P. 238

227





                                              Prescription          Amoxicillin (product)
                                              (attribute)               27658006
                                              33633005

                        Prescription of drug   Prescription         Ambroxol (product)
                           (Procedure)        (attribute)              703353005
                                              33633005
                           260885003

                                             Prescription          Oral form paracetamol

                                              (attribute)               (product)
                                              33633005                 437876006
                                                                       703353005


                      ภาพที่ 8.24 รายการยาที่แพทย์สั่งให้กับผู้ป่วย

                      ตารางที่ 8.11 การบันทึกรายการยาที่แพทย์สั่งให้กับผู้ป่วย ในฐานข้อมูล และรหัส Id ที่เกี่ยวข้องกบ
                                                                                                        ั
                      รายการยาที่แพทย์สั่งให้กับผู้ป่วยที่คอมพิวเตอร์บันทึกไว้


                        SourceId     Source       TypeId   Artribute    DestinationId        Destination
                       260885003  Prescription of drug  33633005   Prescription  27658006   Amoxicillin (product)
                       260885003  Prescription of drug  33633005   Prescription  703353005   Ambroxol
                       260885003  Prescription of drug  33633005   Prescription  437876006   Oral form paracetamol



                      SNOMED CT กับ ICD และ DRG

                             การใช้ข้อมูลจากบันทึกเวชระเบียนผู้ป่วยใน ไปใช้ในการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลจาก

                      กองทุนประกันสุขภาพ เป็นวิธีที่นิยม เครื่องมือที่ใช้ คือ Diagnosis Related Groups หรือ GRGs ซึ่ง
                      เป็นการนำข้อมูลการวินิจฉัยโรค และข้อมูลหัตถการการผ่าตัด ไปแปลงเป็นรหัส ICD และนำไปใช้
                      ร่วมกับข้อมูลอนๆ เช่น อายุ ผลการรักษา (Discharge type) วันนอน จำแนกเป็นกลุ่มโรคที่มีความ
                                   ื่
                                                                                                       ั
                      แตกต่างกันหลายๆ กลุ่ม นำข้อมูลต้นทุนของแต่ละกลุ่มโรคมาทำการคำนวณหาน้ำหนักสัมพทธ์
                      (Relative Weight) ใช้เป็นค่าสัมประสิทธิ์สำหรับคำนวณจำนวนเงินที่จ่ายกลับคืนให้โรงพยาบาล โดย
                      วิธีนี้สามารถควบคุมค่าใช้จ่าย และจัดสรรงบประมาณได้สอดคล้องกับการให้การรักษาพยาบาล
                      มากกว่าการนับจำนวนผู้ป่วย หรือนับจำนวนวันนอน เพราะโรคที่มีการวินิจฉัย หรือหัตถการการผ่าตัด
                      ที่ถูกจำแนกในกลุ่มเดียวเดียวกัน ก็จะได้ราคาโดยเฉลี่ยจากตัวเลขสถิติต้นทุน

                             การนำรหัส ICD มาใช้ในระบบการเบิกจ่าย ทำให้แพทย์และผู้ให้การรักษาพยาบาลมีความ
                      สนใจเรื่องรหัส ICD เพมขึ้นอย่างรวดเร็ว แต่ภาษาที่ใช้ในการอธิบายรหัส ICD เป็นศัพท์ทางสถิติ ต่าง
                                         ิ่
                      จากศัพท์ทางคลินิกที่แพทย์คุ้นเคย ทำให้มีการดัดแปลงรหัส ICD เพื่อให้แพทย์ พยาบาล และบุคลากร

                      ทางคลินิกเข้าใจได้ง่ายขึ้น การดัดแปลงเริ่มขึ้นในสหรัฐอเมริกา โดยดัดแปลง ICD ฉบับที่ 9 เรียกชื่อว่า
                      ICD-9-CM ซึ่งย่อจาก Clinical Modification ทั้งรหัสการวินิจฉัยโรค และหัตถการ





                        HM 4633 การให้รหัสโรค ดร.อมรรัตน์ ลือนาม คณะสาธารณสุขศาสตร์และสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
   233   234   235   236   237   238   239   240   241   242   243