Page 55 - การให้รหัสโรค
P. 55
44
ความหนาของตัวพิมพ์
ิ
ชื่อโรคหรือภาวะที่พมพด้วยตัวพมพหนา หมายถึงโรคหรือภาวะที่ใช้เป็นชื่อรหัส ขณะที่ชื่อ
์
์
ิ
์
ิ
ิ
โรคหรือภาวะที่พมพด้วยพมพบาง หมายถึงโรคหรือภาวะที่ใช้รหัสเดียวกันกับโรคหรือภาวะที่เป็นชื่อ
์
โรค อาจเป็นโรคหรือภาวะเดียวกันหรือต่างกันก็ได้ ดังตัวอย่างจากหนังสือเล่มที่ 1 ฉบับปี 2016 หน้า
321
J42
ได้รหัสเดียวกัน คือ J42
แนวคิดการกำหนดรหัสและจัดเรียงรหัสในกลุ่มรหัส
การจัดหมวดหมู่โรคโดยใช้หลักการให้ความสำคัญของสาเหตุของโรคมากกว่าตำแหน่งโรค
นอกจากนี้แนวคิดการกำหนดรหัสและจัดเรียงรหัสในกลุ่มรหัส โดยมีหลักการกำหนดรหัสสำหรับโรค
ทุกโรคที่มีความสำคัญ พบบ่อย และมีลักษณะโดดเด่นเฉพาะ ซึ่งโรคกลุ่มนี้จะจัดไว้ในรหัสช่วงแรก
ต่อจากนั้นจะเป็นรหัสสำหรับโรคอื่นๆ (Other) ที่พบไม่บ่อย หรือไม่มีความสำคัญโดดเด่น รหัสสุดท้าย
ี
แต่ละกลุ่มรหัสคือรหัสที่กำหนดไว้ใช้ในกรณีที่ไม่ทราบรายละเอยดของโรค หรือการวินิจฉัยโรคไม่
ชัดเจน (Unspecified) ดังตัวอย่างจากหนังสือเล่มที่ 1 ฉบับปี 2016 หน้า 54
โรคที่มีความสำคัญ พบ
บ่อย ลักษณะโดดเด่น จะ
มีรหัสจำเพาะ
โรคที่พบน้อย หลายโรค
รวมกัน ไม่มีรหัสจำเพาะ
วินิจฉัยโรคไม่ชัดเจน
HM 4633 การให้รหัสโรค ดร.อมรรัตน์ ลือนาม คณะสาธารณสุขศาสตร์และสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ