Page 214 - New โครงการ งานจักรยานยนต์
P. 214
211
1) จังหวะยืดตัว วาล์วปิดและน้ ามัน ในห้องสลายแรงจะรีดตัวออกและผ่านท่อ
ทางเข้า จะไหลเข้าไปในลูกสูบเพื่อช่วยใน การรับแรง
2) จังหวะอัดตัว วาล์วจะเปิดและ น้ ามันด้านในลูกสูบจะผ่านเข้าไปยังห้อง สลายแรง
และผ่านท่อทางเข้าไหลเข้าไป ในลูกสูบ จึงสามารถแบ่งเบาแรงให้ลดลง ได้ สปริงกัน
กลับและตัวล็อกน้ ามันท า หน้าที่ให้การรับแรงคงที่และควบคุมการ ไหลย้อนกลับของ
น้ ามัน
4. โช้คอัพหน้ำแบบมีแกนใน (Inner Rod Type)
มีวาล์วอิสระในด้านยึดและด้านตัวอัด (ขวามือ) ซึ่งเป็นกลไกในการแบ่งเบาแรง โดย
ใช้วาล์วเปิด-ปิดในลูกสบ ในจังหวะยึดตัวจะท าให้บ้านด้านในตัวอัดท างาน ซึ่งกลไกเปิด-ปิด
วาล์ว ก็จะแบ่งเบาแรง ยังมีกลไกเสริมสมรรถนะส าหรับใช้เพื่อปรับปรุงระบบกันสะเทือน
หน้าให้ดีขึ้น เพื่อ
1) กำรปรับในขั้นแรก
ระยะของสปริงเป็นสิ่งแรกที่สามารถปรับแต่งในการรับแรง ซึ่งท าได้ง่าย เพราะเป็น
การปรับแต่ง ภายนอก
2) กำรปรับแต่งกำรแบ่งเบำภำระ
ใช้การลดหรือเพิ่มขนาดของรูด้านทางเข้า ซึ่งสามารถเลือกปรับเพิ่มหรือลดจาก
ภายนอก
3) กลไกป้องกันกำรจิกตัว
เพื่อป้องกันระบบกันสะเทือนหน้าจากการยุบตัวลงขณะเบรกรถ กลไกเบรกไฮดรอ
ลิกจะท าให้ น้ ามันไฮดรอลิกไปปิดปากรูด้านน้ ามัน ท าให้เกิดการล็อกโดยน้ ามันขึ้น
4) กำรป้องกันอำกำศเข้ำในระบบ
ป้องกันอากาศไม่ให้เข้าไปยังแกนโช้คอัพด้านใน ที่ระหว่างความดัน 0.5 ถึง 1.0 กก./ซม. 2