Page 39 - การสืบสวนสอบสวน
P. 39

๓๒




                        ๓.   สิ่งของตาง ๆ ที่เปนวัตถุพยานในที่เกิดเหตุ และของกลางที่ยึดได เปนหลักฐาน
              อยางหนึ่งที่สามารถสืบสวนใหไดมูลเหตุ หรือรูตัวคนราย ซึ่งวิธีสืบสวนจากสิ่งเหลานี้ใชได ๒ วิธี คือ

              ใชทางดานวิทยาการเขาชวย และสืบหาจากตัวบุคคล ในที่นี้จะกลาวแตเฉพาะสืบจากบุคคล
                               ก.    ผูเคยใช ผูเคยเห็น หรือเกี่ยวของ ซึ่งจําสิ่งของนั้นได ในขอนี้มักจะเปนปญหา

              สําคัญในการพิจารณาเกี่ยวกับการโตเถียงกรรมสิทธิ์ในสิ่งของนั้นวาเปนของใคร และการยืนยัน
              ในขอที่วาจําได การใหการวาจําไดโดยไมมีเหตุผลยอมไมอาจรับฟงได เชน ในเรื่องคดีลักทรัพย

              หรือรับของโจร ถาผูตองหาตอสูกรรมสิทธิ์ของกลางที่จับได ถาไมมีหลักฐานยืนยันในเรื่องของกลาง
              โดยมีเหตุผลที่มีนํ้าหนักแลว เปนการยากที่จะใหศาลลงโทษ ของกลางบางอยางมีสภาพไมเหมือนกัน

              หรือมีแตเฉพาะคนบางกลุมบางพวก  เชน  พระเครื่อง  ภาพถาย  เครื่องแตงบาน  ฯลฯ
              เปนการงายที่จะสืบหาเจาของ และมักจะไมคอยมีขอโตเถียงกรรมสิทธิ์สิ่งของที่ตกอยูในที่เกิดเหตุ

              เชน มีดพก หมวกคนราย เปนตน อาจจะสืบหาคนรายไดโดยสอบถามจากคนที่เคยเห็นหรือจําได
              โดยถือหลักดังกลาวขางตน
                               ข.    ผูเปนเจาของ หรือผูประดิษฐหรือจัดทําสิ่งของนั้น บุคคลในประเภทนี้ยอมเปน

              ผูที่จะยืนยันในสิ่งของนั้นมีนํ้าหนักดีกวาการที่เคยเห็นใช เชน เสื้อผาที่ตัดจากรานเย็บเสื้อผา
              โดยวิธีวัดตัด และติดชื่อหรือยี่หอของราน ผูเย็บหรือตัดยอมระลึกไดวา เสื้อที่ตนเย็บนั้นมีรอยตําหนิ

              หรือรูปลักษณพิเศษอยางไร ใครเปนคนวาจาง และมีบัญชีบันทึกขนาดของเสื้อนั้นปรากฏอยู
                               ค.    แหลงหรือสํานักที่อาจรับหรือมีสิ่งของนั้นไว  เชน  โรงรับจํานําบางราน

              หรือบุคคลที่เคยรับซื้อของโจร  การที่ติดตามสิ่งของที่หายไป  ถาผูสืบสวนรูเบาะแสดังกลาว
              ยอมสกัดจับของกลางหรือจับของที่ตองการนั้นไดโดยงาย นอกจากนั้น ยังอาจจะบอกชื่อเจาของ

              หรือบุคคลซึ่งสงสัยวา จะมีหรือใชสิ่งของเชนนั้นได



              áËÅ‹§¢ŒÍÁÙÅ·Õèà¡ÕèÂǡѺ»ÃЪҡÃáÅкؤ¤Å

                        ในการสืบสวนคดีที่เกิดขึ้นนั้นภายหลังจากการตรวจที่เกิดเหตุของผูสืบสวนอาจทราบถึง
              ตัวคนรายหรือผูกระทําผิดในทันที การติดตามจับกุมโดยเรงรีบจะตองกระทําในเวลานั้น ผูสืบสวน

              จะตองสืบสวนซักถามพยานใหรูถึงรูปพรรณของคนราย เสื้อผาที่สวมใสในเวลาเกิดเหตุ ความจําเปน
              ในการจดจํารูปรางหนาตาของคนรายไดดีที่สุดก็คือ ภาพถายของคนรายนั้นเอง การที่จะไดมา

              ซึ่งภาพถายของคนรายหรือบุคคล ผูสืบสวนจะตองรูถึงแหลงขอมูลที่เกี่ยวของกับประชากรและบุคคล
              ดังนี้

                        ๑.   กองทะเบียนประวัติอาชญากร เปนหนวยงานหนึ่งในสํานักงานตํารวจแหงชาติ
              เปนหนวยงานระดับกองบังคับการในสังกัด สํานักงานพิสูจนหลักฐานตํารวจเปนแหลงขอมูลชวย

              ในการสืบสวน เปนสถานที่เก็บรวบรวมประวัติ รูปถาย และแผนประทุษกรรมของคนราย ทําใหผูสืบสวน
              สามารถที่จะคนหาขอมูลบางอยางที่ตองการได
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44