Page 120 - บทคัดย่อการทดลองสิ้นสุด 60
P. 120
รายงานผลการทดลองสิ้นสุด ปี 2560
1. ชุดโครงการวิจัย ปรับปรุงพันธุ์และเทคโนโลยีมะพร้าวเพื่ออุตสาหกรรม
2. โครงการวิจัย ปรับปรุงพันธุ์และเทคโนโลยีมะพร้าวเพื่ออุตสาหกรรม
3. ชื่อการทดลอง การสร้างแปลงพ่อ-แม่พันธุ์แม่พันธุ์มะพร้าวพันธุ์ไทยด้วยวิธีการควบคุม
ผสมพันธุ์แบบใกล้ชิดั(Controlled sib pollination)
The Establishment of Thai Tall as Male and Female Parents by
Controlling Natural Pollination
1/
1/
4. คณะผู้ด าเนินงาน ทิพยาััไกรทอง ปริญดาััหรูนหีม
1/
หยกทิพย์ััสุดารีย์ วิไลวรรณััทวิชศรี 2/
ไพรัตน์ััช่วยเต็ม
1/
5. บทคัดย่อ
การสร้างแปลงพ่อ-แม่พันธุ์มะพร้าวพันธุ์ไทยด้วยวิธีการควบคุมผสมพันธุ์แบบใกล้ชิดั(Controlled
sib pollination) เพื่อให้ได้จ้านวนผลมะพร้าวที่มีลักษณะดีเด่นตรงตามพันธุ์ัส้าหรับเพิ่มจ้านวนต้นพ่อ -ัแม่
พันธุ์ส้าหรับผลิตพันธุ์ลูกผสมให้เพียงพอกับความต้องการัด้าเนินการทดลองที่ศูนย์วิจัยพืชสวนชุมพร
ไม่มีแบบแผนการทดลองัแต่จะใช้วิธีการคัดเลือกต้นที่มีลักษณะดีเด่นแล้วผสมภายในกลุ่มัก่อนคัดเลือก
ผลพันธุ์มาเพาะและน้าไปสร้างแปลงเพื่อสร้างประชากรใหม่และรักษาลักษณะทางพันธุกรรมที่ดีต่อไป
จากผลการคัดเลือกได้จ้านวนต้นพ่อ-แม่พันธุ์ที่มีลักษณะดีจ้านวนั20 ต้นัสามารถผสมพันธุ์โดยวิธีคลุมถุงจั่น
ได้จ้านวนผลพันธุ์ประมาณั1,768 ผลัและผลิตหน่อพันธุ์ได้จ้านวนั1,200 ต้นัสามารถปลูกในพื นที่ 50 ไร่
โดยแบ่งการปลูกเป็นั3 ช่วงด้วยกันคือัช่วงที่ั1 ปลูกมะพร้าวในพื นที่ัั12 ไร่ัจ้านวนั249ัต้นัช่วงที่ั2
ปลูกในพื นที่ั14 ไร่ัจ้านวนั286 ต้นัส่วนช่วงที่ั3 ปลูกมะพร้าวในพื นที่ั24 ไร่ัจ้านวนั480 ต้น
พบว่าัมะพร้าวมีการเจริญเติบโตดีัโดยเฉพาะด้านความสูงัและรอบโคนช่วงั6 เดือนแรกถึงั1 ปี
หลังจากปลูกมีอัตราการเจริญเติบโตเป็นั2 เท่าัส่วนจ้านวนใบบนต้นัและจ้านวนทางใบเพิ่มัมีอัตราเพิ่มขึ น
ไม่แตกต่างกันัเช่นเดียวกันกับความยาวทางใบัจ้านวนใบย่อยัความยาวก้านทางัและความยาวของใบย่อย
พบว่าัมีอัตราการเจริญเติบโตดีัสามารถเพิ่มจ้านวนประชากรมะพร้าวที่มีลักษณะทางพันธุกรรมเดิม
และเป็นแหล่งผลิตพ่อ-แม่พันธุ์ที่ดีในอนาคต
6. การน าผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ได้ผลมะพร้าวพันธุ์ไทยจากการผสมแบบใกล้ชิดั(sib pollination) ส้าหรับลงเพาะในแปลงเพาะ
และคัดเลือกต้นกล้าที่มีลักษณะดีัลงปลูกในแปลงพ่อั-ัแม่พันธุ์ัส้าหรับผลิตละอองเกสรใช้ในการผลิต
มะพร้าวพันธุ์ลูกผสมัและเพิ่มปริมาณต้นกล้าให้มากขึ นเพื่อตอบสนองความต้องการของเกษตรกรและ
ผู้ประกอบการ
_______________________________________
1/ ศูนย์วิจัยพืชสวนชุมพรั
2/ สถาบันวิจัยพืชสวนั
102