Page 123 - บทคัดย่อการทดลองสิ้นสุด 60
P. 123

รายงานผลการทดลองสิ้นสุด ปี 2560


                       1. ชุดโครงการวิจัย          วิจัยและพัฒนากาแฟ

                       2. โครงการวิจัย             วิจัยการปรับปรุงพันธุ์กาแฟอะราบิกา
                       3. ชื่อการทดลอง             การคัดเลือกพันธุ์กาแฟอะราบิกาลูกผสมัSarchimor ชุดที่ั1
                                                   Clonal selection of Arabica coffee var. Sarchimor seri 1
                                                                                             1/
                                                                   1/
                       4. คณะผู้ด าเนินงาน         ฉัตต์นภาััข่มอาวุธ           สมคิดััรัตนบุรี
                                                                                              1/
                                                                 2/
                                                   อุทัยัันพคุณวงค์             ศิริภรณ์ััจรินทร
                                                                       1/
                                                                                               1/
                                                   วัฒนนท์ััอิสระธรรมกุล        ชัญญนุชััสิงคมณี
                                                               1/
                                                   ธนกฤษััรินใจ
                       5. บทคัดย่อ
                              การคัดเลือกพันธุ์กาแฟอะราบิกาลูกผสมัSarchimor ชุดที่ั1ัมีวัตถุประสงค์เพื่อคัดเลือกพันธุ์กาแฟ
                       ที่ต้านทานต่อโรคราสนิมในสภาพธรรมชาติัส้าหรับใช้ในการเปรียบเทียบพันธุ์ในโครงการปรับปรุงพันธุ์
                       กาแฟอะราบิกา ด้าเนินการเดือนัต.ค.ั2554ัถึงักันยายนั2560ัณัศูนย์วิจัยเกษตรหลวงเชียงใหม่
                       (ขุนวาง: 1432 เมตรัจากระดับน ้าทะเล)ัอ.แม่วางัจ.เชียงใหม่ัไม่มีการวางแผนการทดลอง ในกาแฟ

                       อะราบิกาพันธุ์ัSarchimor จ้านวนั5ักลุ่มพันธุ์ัได้แก่ัCIFC No.1, CIFC No.2, CIFC No.3, CIFC No.4
                       และัCIFC No.5 รวมั303ัสายพันธุ์ัที่ได้รับเป็นเมล็ดจากศูนย์วิจัยโรคราสนิมัประเทศโปรตุเกส
                       ปลูกในเดือนตุลาคมั2554ัร่วมกับต้นพลับัพบว่าักลุ่มสายพันธุ์ัCIFC No.1ัมีอัตราการเพิ่มเจริญเติบโต

                       ด้านความสูงัเส้นรอบวงโคนต้นัและขนาดทรงพุ่มเฉลี่ยต่อปีมากที่สุดคือั12.45ัเซนติเมตรัและให้ผลผลิต
                       เฉลี่ยั5ัปีของน ้าหนักแห้งสารกาแฟมากที่สุดคือั0.125ักิโลกรัมต่อต้นักลุ่มสายพันธุ์ัCIFC No.5
                       มีเปอร์เซ็นต์ต้านทานโรคราสนิมมากที่สุดคือั100ัเปอร์เซ็นต์แต่ไห้ผลผลิตน้อยมากัรองลงมาคือ
                       กลุ่มสายพันธุ์ัCIFC No.1 ที่มีเปอร์เซ็นต์ต้านทานโรคราสนิมั90ัเปอร์เซ็นต์ัและมีคุณภาพการชิมมากที่สุด
                       และอยู่ในระดับยอดเยี่ยมคือั8.34 จากคะแนนเต็มั10ัและได้ต้นที่ผ่านเกณฑ์การคัดเลือกจ้านวน

                       8ัสายพันธุ์ได้แก่ัได้แก่ัCIFC No.1-T8, CIFC No.1-T15, CIFC No.1-T16, CIFC No.1-T51, CIFC
                       No.2-T10, CIFC No.2-T14, CIFC No.2-T21 และัCIFC No.2-T27ััซึ่งไม่พบการเข้าท้าลาย
                       ของโรคราสนิมัผลผลิตน ้าหนักสดเฉลี่ยั5ัปีคือั985.73ักรัมต่อต้นัผลผลิตน ้าหนักแห้งกาแฟกะลา

                       เฉลี่ยั5ัปีัคือั245.45ักรัมต่อต้นัความยาวระหว่างข้อของกิ่งที่ให้ผลเฉลี่ยั3.23ัเซนติเมตรัความยาว
                       ระหว่างข้อของล้าต้นเฉลี่ยั4.6ัเซนติเมตรัขนาดของสารกาแฟได้แก่ักว้างเฉลี่ยั7ัมิลลิเมตร
                       ยาวเฉลี่ยั11ัมิลลิเมตรัหนาเฉลี่ยั4ัมิลลิเมตรัจ้านวนสารกาแฟต่อน ้าหนักั100ักรัมคือั555ัเมล็ด
                       เปอร์เซ็นต์สารกาแฟเกรดัA เฉลี่ยั86.89ัเปอร์เซ็นต์ัและเปอร์เซ็นต์สารกาแฟัPeaberryัเฉลี่ยั9.11ั

                       เปอร์เซ็นต์ัซึ่งมีแผนเก็บเกี่ยวเมล็ดของสายพันธุ์ที่คัดเลือกเดือนัธันวาคมั2561ัเพาะและทดสอบ
                       ความต้านทานต่อโรคราสนิมในโรงเรือนและในแปลงตามสภาพธรรมชาติัเพื่อเปรียบเทียบพันธุ์ในโครงการ
                       ปรับปรุงพันธุ์กาแฟอะราบิกาในปีงบประมาณั2565




                       __________________________________
                       1/
                        ศูนย์วิจัยเกษตรหลวงเชียงใหม่
                       2/ กรมวิชาการเกษตร



                                                          105
   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128