Page 221 - บทคดยอการทดลองสนสด 60 สมบรณ_Neat
P. 221

รายงานผลการทดลองสิ้นสุด ปี 2560


                       1. ชุดโครงการวิจัย          วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและเครื่องจักรส าหรับแปรรูปพืชผักและ

                                                   สมุนไพร
                       2. โครงการวิจัย             วิจัยและพัฒนาเครื่องจักรและเทคโนโลยีส าหรับแปรรูปพืชผัก
                                                   และสมุนไพร
                       3. ชื่อการทดลอง             วิจัยและพัฒนาเครื่องดองผักแบบความดันอัดอากาศร่วมกับน  าดองที่ผสม

                                                   หัวเชื อน  าดอง
                                                   Research and Development of Vegetable Pickling Machine by
                                                   Using the Hydro static Process and Pickle Solution mixed to
                                                   starter solution.

                       4. คณะผู้ด าเนินงาน         กลวัชร  ทิมินกุล             เวียง  อากรชี
                                                                 1/
                                                                                           1/
                                                               1/
                                                                                              1/
                                                   พินิจ  จิรัคคกุล             ศักดิ์ชัย  อาษาวัง
                                                                    1/
                                                                                             1/
                                                   ประยูร  จันทองอ่อน           นกฤต  โยธาทูล
                       5. บทคัดย่อ
                              งานวิจัยนี เป็นการน าหลักการใช้ความดันไฮโดรสแตติกมาประยุกต์ต่อยอดงานวิจัยในการดองเปรี ยว
                       ด้วยตัวเองหรือการดองที่เกิดความเปรี ยวจากแลกติคแบคทีเรีย โดยใช้เครื่องอัดอากาศที่ให้ก าเนิดความดัน
                       อากาศอัดอากาศเข้าไปในถังความดันเร่งการซึมผ่านของน  าดองให้เข้าไปในเนื อผักโดยส่วนผสมของน  าดอง

                       คือน  าเกลือ 3 เปอร์เซ็นต์ น  าซาวข้าว1 เปอร์เซ็นต์ ข้าวสุก1 เปอร์เซ็นต์ น  าหัวเชื อน  าดองเฉพาะของผัก
                       แต่ละชนิดใช้ในปริมาณ 3 เปอร์เซ็นต์ ได้ออกแบบถังความดันใช้ส าหรับผักซึ่งมีความแน่นเนื อต่ ากว่าผลไม้จึง
                       มีการใช้ปั๊มความดันและโครงสร้างที่ไม่ต้องทนแรงดันที่สูงมาก แต่ต้องไม่น้อยกว่า 7 ใช้แรงดันและระยะเวลา
                       ในการอัดอากาศตามความเหมาะสมกับผักแต่ละชนิดคือผักกุ่ม ผักเสี ยน หน่อไม้ แตงกวา ใช้ความดัน 5 บาร์
                       ใช้เวลาในการอัดอากาศ 10 นาทีและกะหล่ าปลีใช้ความดัน 5 บาร์อัดอากาศนาน 5 นาที แล้วน าออกมาหมัก

                       ต่อไปอีกในภาชนะที่สะอาดและปิดฝามิดชิด จนเกิดความเปรี ยวจากกรดแลคติก ที่เป็นผลมาจากการ
                       เจริญเติบโตของจุลินทรีย์ที่เรียกว่าแลคติกแบคทีเรีย ซึ่งจะเจริญเติบโตได้ดีในที่อับอากาศหรือมีอากาศน้อย
                       ท าการเปรียบเทียบคุณภาพ กลิ่น สี รสชาติกับการดองด้วยวิธีการปกติหรือการดองแบบวิธีชาวบ้านผลการ

                       ดองแบบอัดน  าดองเข้าในเนื อผักก่อนการดองผักกุ่มหลังจากอัดน  าเกลือแล้วดองเป็นเวลา 3 วัน จึงเปรี ยวและ
                       กินได้เช่นเดียวกับผักเสี ยนใช้เวลา 3 วันหน่อไม้ดองใช้เวลา 3 วันกะหล่ าปลีใช้เวลา 1 วัน และแตงกวาใช้
                       เวลา 5 วัน เมื่อท าการเปรียบเทียบกับการดองแบบวิธีชาวบ้านส าหรับผักทั่วไปสามารถลดเวลาในการดองได้
                       1 ถึง 2 วันและลดขั นตอนการเตรียมผักก่อนน ามาดองโดยไม่ต้องขย าให้แตก ในกรณีของผักที่มีเฝื่อน

                       และความขมเช่นผักกุ่มและหน่อไม้สามรถลดขั นตอนในการแช่น  าเปล่าเพื่อลดความเฝื่อนและความขมได้
                       ไม่น้อยกว่า 3 วันท าให้สะดวกและลดเวลาให้น้อยลงและรสชาดไม่แตกต่างจากการดองแบบวิธีชาวบ้าน






                       _______________________________________
                       1/ ศูนย์วิจัยเกษตรวิศวกรรมขอนแก่น




                                                          203
   216   217   218   219   220   221   222   223   224   225   226