Page 404 - บทคดยอการทดลองสนสด 60 สมบรณ_Neat
P. 404

รายงานผลการทดลองสิ้นสุด ปี 2560


                       1. ชุดโครงการวิจัย          วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตขยายและการใช้ประโยชน์ของชีวภัณฑ์

                                                   สู่เชิงพาณิชย์
                       2. โครงการวิจัย             ส ารวจและศึกษาศักยภาพชีวภัณฑ์ควบคุมศัตรูพืชทางการเกษตร
                       3. ชื่อการทดลอง             ศักยภาพของถั่วบราซิล (pinto peanut, Arachis pintoi Krapov. &
                                                   W.C. Greg.) คลุมดินเพื่อควบคุมวัชพืชในสับปะรด

                                                   Potential  of  Pinto  peanut  (Arachis  pintoi  Krapov.  &  W.C.
                                                   Greg.) as  cover  crop  for  weed  control  in  Pineapple
                                                                        1/
                       4. คณะผู้ด าเนินงาน         ภัทร์พิชชา  รุจิระพงศ์ชัย           คมสัน  นครศรี 1/
                                                   อัณศยา  สุริยะวงศ์ตระการ            อมฤต  ศิริอุดม
                                                                          1/
                                                                                                    1/
                       5. บทคัดย่อ
                              การศึกษาศักยภาพของถั่วบราซิล (pinto peanut, Arachis pintoi Krapov. & W.C. Greg.) คลุมดิน
                       เพื่อควบคุมวัชพืชในสับปะรด โดยศึกษาการเจริญเติบโตของถั่วบราซิลจากกิ่งปักช า ที่มีประมาณอายุ 1 เดือน
                       หลังปักช า ด าเนินการทดลอง ที่แปลงเกษตร จังหวัดกาญจนบุรี  ระหว่างเดือน ตุลาคม 2558 ถึง กันยายน 2560

                       วางแผนการทดลองแบบ RCB จ านวน 7 กรรมวิธี 3 ซ้ า ประกอบด้วย จ านวนต้นถั่วบราซิล 2, 3, 4, 5, 6 ต้นต่อ
                       ตารางเมตร เปรียบเทียบกับกรรมวิธีก าจัดวัชพืชด้วยมือ และกรรมวิธีไม่ก าจัดวัชพืช พบว่า ในระยะ 1 เดือน
                       หลังปลูก ถั่วบราซิล มีการเจริญเติบโตค่อนข้างช้า และสามารถเจริญเติบโตได้ดีขึ้น แตกกิ่งแขนงในระยะ 2

                       เดือนหลังปลูก และที่ระยะ 3 ถึง 4 เดือนหลังปลูก ถั่วบราซิล สามารถเจริญเติบโตได้อย่างรวดเร็ว ในกรรมวิธี
                       ที่มีจ านวนต้นถั่วบราซิล 5 และ 6 ต้นต่อตารางเมตร เจริญเติบโตได้ดี มีเปอร์เซ็นต์การคลุมพื้นที่ประมาณ 83
                       และ 93 เปอร์เซ็นต์ ตามล าดับ และสามารถแข่งขันกับหญ้าดอกขาว หญ้าตีนนก หญ้าตีนติด ผักเบี้ยหิน และผัก
                       โขมหินได้ดี สามารถลดจ านวนต้นและน้ าหนักแห้งของวัชพืชดังกล่าวแตกต่างอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติกับ
                       กรรมวิธีปลูกถั่วบราซิล 2,3,4 ต้นต่อตารางเมตร และกรรมวิธีไม่ก าจัดวัชพืช

                       6. การน าผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
                              ได้สารก าจัดวัชพืชทั้งประเภทใช้ก่อนวัชพืชงอกและหลังวัชพืชงอกที่สามารถก าจัดวัชพืชในถั่วเขียวได้ดี

                       สามารถน าไปใช้ในแหล่งปลูกพืชหรือสถานที่ที่ไม่ได้ปลูกพืช ส าหรับเกษตรกร นักวิชาการเกษตร นักส่งเสริม
                       การเกษตร และผู้สนใจทั่วไปต่อไป


















                       _____________________________________
                       1/ ส านักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช




                                                          386
   399   400   401   402   403   404   405   406   407   408   409