Page 409 - บทคดยอการทดลองสนสด 60 สมบรณ_Neat
P. 409
รายงานผลการทดลองสิ้นสุด ปี 2560
1. ชุดโครงการวิจัย วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตขยายและการใช้ประโยชน์ของชีวภัณฑ์
สู่เชิงพาณิชย์
2. โครงการวิจัย วิจัยพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตขยายและการใช้ชีวภัณฑ์ในการควบคุม
ศัตรูพืชที่ส าคัญทางเศรษฐกิจ
3. ชื่อการทดลอง การทดสอบประสิทธิภาพของแบคทีเรียปฏิปักษ์ในการควบคุมโรคเน่าสี
น้ าตาลของกล้วยไม้สาเหตุจากแบคทีเรีย Burkholderia gladioli pv.
gladioli
Efficacy Test of Antagonist Bacteria for Control Bacterial Brown
Rot of Orchid Caused by Burkholderia gladioli pv. gladioli
1/
1/
4. คณะผู้ด าเนินงาน ทิพวรรณ กันหาญาติ ณัฎฐิมา โฆษิตเจริญกุล
1/
1/
บูรณี พั่ววงษ์แพทย์ รุ่งนภา ทองเคร็ง
5. บทคัดย่อ
ทดสอบประสิทธิภาพของเชื้อแบคทีเรียปฏิปักษ์ในการควบคุมโรคเน่าสีน้ าตาลของกล้วยไม้
สาเหตุจากแบคทีเรีย Burkholderia gladioli pv. gladioli ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2558 ถึง กันยายน 2560
โดยน าเชื้อแบคทีเรียปฏิปักษ์ที่มีประสิทธิภาพในการควบคุมโรคเน่าสีน้ าตาลของกล้วยไม้ในสภาพเรือน
ทดลองมาทดสอบในสภาพแปลง โดยเริ่มพ่นเชื้อแบคทีเรียปฏิปักษ์หลังจากกล้วยไม้เริ่มแสดงอาการ
ของโรค พ่นทุก 7 วัน จ านวน 5 ครั้ง พบว่ากรรมวิธีพ่นเชื้อแบคทีเรียปฏิปักษ์ BS5 BS23 และ BS40
สามารถควบคุมเชื้อ B. gladioli pv. gladioli สาเหตุโรคเน่าสีน้ าตาลของกล้วยไม้ได้ดี มีระดับความรุนแรง
ของโรคแตกต่างจากกรรมวิธีพ่นด้วยน้ าเปล่าอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ ทั้งนี้ประสิทธิภาพของเชื้อแบคทีเรีย
ปฏิปักษ์ BS5 BS23 และ BS40 ที่คัดเลือกได้สามารถควบคุมโรคเน่าสีน้ าตาลของกล้วยไม้ที่มีเปอร์เซ็นต์
ความรุนแรงของโรคประมาณ 25 เปอร์เซ็นต์ แต่ไม่สามารถควบคุมโรคเน่าสีน้ าตาลของกล้วยไม้
ที่มีเปอร์เซ็นต์ความรุนแรงของโรคมากกว่า 40 เปอร์เซ็นต์ ดังนั้นแนวทางในการใช้เชื้อแบคทีเรียปฏิปักษ์
ควบคุมโรคเน่าสีน้ าตาลของกล้วยไม้ให้มีประสิทธิภาพที่ดีคือพ่นเพื่อป้องกันการเกิดโรคหรือใช้
เมื่อเพิ่งเริ่มแสดงอาการของโรคในแปลง
6. การน าผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
คัดเลือกเชื้อแบคทีเรียปฏิปักษ์ที่มีประสิทธิภาพสามารถควบคุมเชื้อ B. gladioli pv. Gladioli
สาเหตุโรคเน่าสีน้ าตาลของกล้วยไม้ในสภาพแปลง
_____________________________________
1/ ส านักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช
391