Page 416 - บทคดยอการทดลองสนสด 60 สมบรณ_Neat
P. 416

รายงานผลการทดลองสิ้นสุด ปี 2560


                       1. ชุดโครงการวิจัย          วิจัยและพัฒนาการใช้นิวเคลียร์เทคนิคในการจัดการศัตรูพืชกักกันของพืช

                                                   ส่งออก
                       2. โครงการวิจัย             วิจัยและพัฒนาการใช้นิวเคลียร์เทคนิคในการจัดการศัตรูพืชกักกันของพืช
                                                   ส่งออก
                       3. ชื่อการทดลอง             ศึกษาผลของโอโซน และปริมาณรังสีแกมมาที่มีต่ออายุการเก็บรักษา

                                                   แก้วมังกรเพื่อการส่งออก
                                                   Effect of Ozone and Gamma Irradiation on Dragon Fruit
                                                   (Hylocereus undatus (Haw.) Britt.&Rose) Shelf-life Dragon Fruit
                                                   for Gamma Irradiation

                                                                  1/
                                                                                                  1/
                       4. คณะผู้ด าเนินงาน         พงษ์ศักดิ์  จิณฤทธิ์         วลัยกร  รัตนเดชากุล
                                                                  1/                           1/
                                                   ปวีณา  บูชาเทียน             พุฒิพงษ์  เพ็งฤกษ์
                                                                  2/
                                                   จารุรัตน์  เอี่ยมศิริ        สลักจิต  พานค า
                                                                                              1/
                                                                 1/                         1/
                                                   ชัยณรัตน์  สนศิริ            ชุติมา  อ้อมกิ่ง
                       5. บทคัดย่อ
                              จากการศึกษาพบว่าเปอร์เซ็นต์การสูญเสียน้ าหนักของแก้วมังกรมีแนวโน้มการสูญเสียเพิ่มมาขึ้นตาม

                       ระยะเวลาการเก็บรักษา 3 วัน 5 และ 7 วัน และทุกกรรมวิธีที่แช่แก้วมังกรด้วยสารละลายโอโซนและคลอรีน
                       แตกต่างกันกรรมวิธีแช่ด้วยน้ าเปล่ามีผลต่อการสูญเสียน้ าหนัก หลังจาการเก็บรักษาวันที่ 7 โดยกรรมวิธีที่ 3

                       แก้วมังกรมีการสูญเสียน้ าหนักร้อยละ 3.62 เปอร์เซ็นต์ รองลงคือกรรมวิธีที่ 4 โดยมีการสูญเสียน้ าหนักร้อย
                       ละ 3.64 เปอร์เซ็นต์ และกรรมวิธีที่ 2 แก้วมังกรมีการสูญเสียน้ าหนักร้อยละ 3.65 เปอร์เซ็นต์ และกรรมวิธีที่1

                       แช่แก้วมังกรด้วยน้ าเปล่า การเปลี่ยนแปลงสีเปลือกด้านนอกพบว่าหลังจากการแช่ด้วยโอโซนที่อัตราต่างๆ
                       แล้วสังเกตผลพบว่าสีเปลือกด้านนอกคล้ าขึ้นค่าความสว่าง (L*) และค่าความสว่าง (b*) ของเปลือกแก้วมังกร

                       ด้านนอกตลอดการเก็บรักษาที่อุณหภูมิ 5 องศาเซลเซียส พบว่ามีแนวโน้มไปในทิศทางเดียวกันคือค่อยๆ

                       ลดลงกล่าวคือสีเปลือกผลแก้วมังกรจะมีสีคล้ าขึ้นเรื่อยๆซึ่งไม่มีความแตกต่างจากชุดควบคุมเนื่องจากระหว่าง
                       การเก็บรักษาเปลือกเริ่มเสื่อมและเปลี่ยนสีผิวจากแดงเป็นสีน้ าตาลเหลืองในที่สุด ผลแก้วมังกรเมื่อเก็บรักษา

                       จ านวน 7 วัน พบว่าการเปลี่ยนแปลงของความแน่นเนื้อ ในวันที่ 0, 3 ทุกกรรมวิธีไม่มีความแตกต่างกันทาง

                       สถิติ ในวันที่ 5 และ 7 วัน มีความแตกต่างกันทางสถิติ โดย กรรมวิธีที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของความแน่นเนื้อ
                       (Texture (N)) และ N ตามล าดับการสูญเสียน้ าหนักการสูญเสียน้ าหนักของแก้วมังกรที่ผ่านการฉายรังสี

                       แล้วได้น าไปเก็บรักษาเก็บรักษาที่อุณหภูมิ 12 องศาเซลเซียส พบว่าร้อยละของการสูญเสียน้ าหนักในกรรมวิธี
                       ที่ 1-3 ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ วันที่ 0,3,5 และพบว่าในวันที่ 7 มีความแตกต่างกันทางสถิติ โดย

                       กรรมวิธีที่ 4 มีร้อยละการสูญเสียน้ าหนักมากที่สุด ในกรรมวิธีที่ 4 วันที่ 3 และ 5 มีค่าเท่ากับ 1.34 เปอร์เซ็นต์



                       __________________________________________________
                       1/ ส านักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช
                       2/ สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ



                                                          398
   411   412   413   414   415   416   417   418   419   420   421