Page 444 - บทคดยอการทดลองสนสด 60 สมบรณ_Neat
P. 444

รายงานผลการทดลองสิ้นสุด ปี 2560


                       1. ชุดโครงการวิจัย          วิจัยและพัฒนาระบบการตรวจวิเคราะห์ปัจจัยการผลิตทางการเกษตร

                                                   ตามมาตรฐานสากล
                       2. โครงการวิจัย             วิจัยและพัฒนาระบบการตรวจวิเคราะห์สารพิษตกค้างของสารป้องกัน
                                                   ก าจัดศัตรูพืช
                       3. ชื่อการทดลอง             การพัฒนาและตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีการตรวจวิเคราะห์สารพิษ

                                                   ตกค้าง กลุ่มคาร์บาเมต (Carbamate) อย่างรวดเร็วในพริกโดยใช้วิธีวัดสี
                                                   Development and Validation of Rapid Carbamate Residue
                                                   Analysis in Chili Using Colorimetric Method.
                       4. คณะผู้ด าเนินงาน         พนิดา  ไชยยันต์บูรณ์         สุภาพร  บ้งพรม 2/
                                                                    1/
                                                   นาตยา  จันทร์ส่อง            อิทธิพล  บ้งพรม
                                                                  2/
                                                                                              2/
                       5. บทคัดย่อ
                              การพัฒนาวิธีการวิเคราะห์สารกลุ่มคาร์บาเมตในตัวอย่างพริก โดยศึกษาสภาวะที่เหมาะสมส าหรับ
                       การวิเคราะห์สารกลุ่มกลุ่มคาร์บาเมตด้วยวิธีวัดสี โดยอาศัยการท าปฏิกิริยาระหว่างสารกลุ่มคาร์บาเมตกับ

                       สารพาราไนโตรอะนิลีน (p-nitroaniline) ในสภาวะเบสที่เหมาะสม ส าหรับค่าการดูดกลืนแส ง
                       (absorbance) ที่ max ของสารกลุ่มคาร์บาเมต จ านวน 4 ชนิดสาร (Carbofuran, Isoprocarb,

                       Propoxur และ Fenobucarb) ด้วยเทคนิคการวัดสี พบว่า ค่า max อยู่ในช่วง 507-512 nm ปริมาตร
                       ที่เหมาะสมของสาร 2.0 M NaOH ในการปฏิกิริยาคือ 2.0 มิลลิลิตร pH เท่ากับ 12.37 สาร 0.05 % PNA
                       ปริมาตร 1.0 มิลลิลิตร pH เท่ากับ 12.42 สาร 0.2 % NaNO2 ปริมาตร 0.5 มิลลิลิตร pH เท่ากับ 12.42
                       และการตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีทดสอบ พบว่าค่าความสัมพันธ์เชิงเส้นตรง (Linearity) อยู่ในช่วง 0.50

                                                  2
                       ถึง 8.00 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่า R  เท่ากับ 0.999 (เกณฑ์มาตรฐาน > 0.995) การทดสอบหาค่า Limit of
                       Determination (LOD) และ Limit of quantitation (LOQ) พบว่าค่า LOD = 0.01 มิลลิกรัมต่อลิตร และ
                       ค่า LOQ = 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร การทดสอบความแม่น (Accuracy) และความเที่ยง (Precision) พบว่าผล

                       การทดสอบผ่านเกณฑ์การยอมรับ ตามเกณฑ์ก าหนดโดยทั่วไปของ Precision, % RSD ของ AOAC Peer-
                       Verified Methods. Nov. 1993 ตามเกณฑ์ยอมรับค่า HORRAT (Horwitz' s ratio)
                              ข้อมูลผลการทดสอบ ของการพัฒนาเทคนิควิธีการตรวจวิเคราะห์สารพิษตกค้างกลุ่มคาร์บาเมต
                       ดังกล่าว สามารถเป็นทางเลือกส าหรับการวิเคราะห์หาสารกลุ่มคาร์บาเมตด้วยวิธีทดสอบที่ต้นทุนต่ า

                       และรวดเร็ว แต่เหมาะส าหรับการวิเคราะห์ตัวอย่างที่มีการปนเปื้อนในปริมาณสูงจึงจะสมารถตรวจวิเคราะห์ได้









                       ___________________________________________
                       1/ ส านักวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร

                       2/ ส านักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4



                                                          426
   439   440   441   442   443   444   445   446   447   448   449