Page 447 - บทคดยอการทดลองสนสด 60 สมบรณ_Neat
P. 447
ผลการประเมินค่า z-Score โปรแกรมการตรวจวิเคราะห์สารพิษตกค้าง: DOA-PRL-01-16
(ตัวอย่างผักกาดหอม) พบว่าผลการทดสอบอยู่ใน เกณฑ์น่าพอใจ 68 เปอร์เซ็นต์ โดยมีค่า z-Score ≤ 2
อยู่ในเกณฑ์น่าสงสัย 8.2 เปอร์เซ็นต์ โดยมีค่า 2 < z-Score < 3 และอยู่ในเกณฑ์ไม่เป็นที่น่าพอใจ 11.8
เปอร์เซ็นต์ โดยมีค่า z-Score ≥ 3 โปรแกรมการตรวจวิเคราะห์สารพิษตกค้าง: DOA-PRL-01-17
(ตัวอย่างมะเขือเทศ) พบว่าผลการทดสอบอยู่ในเกณฑ์น่าพอใจ 84 เปอร์เซ็นต์ โดยมีค่า z-Score ≤ 2ฅ
อยู่ในเกณฑ์น่าสงสัย 4 เปอร์เซ็นต์ โดยมีค่า 2 < z-Score < 3 และไม่เป็นที่น่าพอใจ 12 เปอร์เซ็นต์
โดยมีค่า z-Score ≥ 3 ซึ่งห้องปฏิบัติการที่เข้าร่วมทดสอบใช้วิธีวิเคราะห์ที่ยอมรับได้ คือวิธี Steinwandter H.
(1985 ) และ วิธี QuEChERS ส่วนเครื่องมือที่ใช้ตรวจวิเคราะห์เป็นเครื่องมือที่มีความถูกต้อง แม่นย าและ
ยอมรับได้ ได้แก่ GC, GC-MS, GC-MS/MS , HPLC, LC-MS และ LC-MS/MS
6. การน าผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
น าขั้นตอนการด าเนินการไปใช้ในการทดสอบความสามารถ ในการตรวจวิเคราะห์สารและพืชชนิดอื่นๆ
ในครั้งต่อไป
ใช้เตรียมตัวอย่างเพื่อเป็น ตัวอย่างอ้างอิงเพื่อควบคุมประสิทธิภาพของการตรวจวิเคราะห์
ของห้องปฏิบัติการของกรมวิชาการเกษตร.
ใช้ในการรับรองห้องปฏิบัติการตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025 และ ISO/IEC 17043 ของห้องปฏิบัติการ
สารพิษตกค้าง
429