Page 478 - บทคดยอการทดลองสนสด 60 สมบรณ_Neat
P. 478

รายงานผลการทดลองสิ้นสุด ปี 2560


                       1. ชุดโครงการวิจัย          แผนงานวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร

                       2. โครงการวิจัย             วิจัยการค้นหาและศึกษาหน้าที่ของยีนเพื่อการปรับปรุงพันธุ์พืชโดยใช้
                                                   เทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่
                       3. ชื่อการทดลอง             การโคลนยีนและการถ่ายยีนควบคุมการเกิดสีม่วง-น้ าเงินสู่กุหลาบ
                                                   Cloning and Tranformation of Violet-blue Color Regulation

                                                   Gene in Rose.
                                                                1/
                                                                                              1/
                       4. คณะผู้ด าเนินงาน         กุหลาบ  คงทอง                ประสาน  สืบสุข
                                                                                                  1/
                                                                   1/
                                                   จีราพร  แก่นทรัพย์           อ าไพ  สินพัฒนานนท์
                       5. บทคัดย่อ
                               การเกิดสีของดอกไม้ส่วนใหญ่ถูกควบคุมโดย ยีนที่เกี่ยวข้องกับการเกิดสีในวัฎจักรการสังเคราะห์
                       รงควัตถุ anthocyanin ซึ่งจัดเป็นฟลาโวนอยชนิดหนึ่งที่ประกอบเป็นสีของดอกไม้หลากหลายตั้งแต่สีส้ม
                       สีแดงจนถึงสีม่วง และสีน้ าเงิน ในงานวิจัยนี้ได้ท าการโคลนยีน DFR จากดอกอัญชันสีน้ าเงินและกุหลาบสีแดง
                       โดยท าการสืบค้นข้อมูลออกแบบไพรเมอร์และเพิ่มปริมาณยีน DFR จากดอกอัญชันและกุหลาบ พบว่ายีนที่

                       โคลนได้มีขนาด 1,400 และ 1050 bp. ตามล าดับ ยีน DFR นี้สามารถน ามาใช้ในการสร้างชุดยีนร่วมกับยีน
                       F3’5’H ที่โคลนได้จากดอกอัญชัน ได้เป็นชุดยีน  DFR - F3’5’H ส าหรับถ่ายฝากสู่กุหลาบเพื่อปรับแต่งสีดอก
                       ให้มีความหลากหลายมากขึ้นในโอกาสต่อไป

                       6. การน าผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
                              - ได้ยีนที่ควบคุมการสร้างเอนไซม์ DFR (dihydroflavonol 4-reductase gene) จากอัญชัน
                       และกุหลาบ ที่เป็นของกรมวิชาการเกษตรส าหรับน าไปใช้ประโยชน์ในการสร้างชุดยีนน าไปปรับแต่งสีดอกไม้
                       โดยวิธีการถ่ายยีน เพื่อสร้างความหลากหลายของสีดอก นอกจากนี้สามารถน าไปเผยแพร่ในวารสารทางวิชาการได้
                               - หน่วยงานที่น าผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ นักปรับปรุงพันธุ์ กรมวิชาการเกษตรสถาบันการศึกษา


















                       _______________________________________________
                       1/
                        ส านักวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ



                                                          460
   473   474   475   476   477   478   479   480   481   482   483