Page 479 - บทคดยอการทดลองสนสด 60 สมบรณ_Neat
P. 479

รายงานผลการทดลองสิ้นสุด ปี 2560


                       1. ชุดโครงการวิจัย          การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร

                       2. โครงการวิจัย             การใช้เครื่องหมายโมเลกุลในการจ าแนกและปรับปรุงพันธุ์พืช
                       3. ชื่อการทดลอง             การพัฒนาเครื่องหมายโมเลกุลเอสเอสอาร์โดยการวิเคราะห์ล าดับเบส
                                                   ยุคใหม่และการจัดท าลายพิมพ์ดีเอ็นเอในทุเรียน
                                                   Development of SSR Markers by Next-generation Sequencing

                                                   and DNA Fingerprinting in Durian
                                                                                             1/
                                                                1/
                       4. คณะผู้ด าเนินงาน         ประสาน  สืบสุข               กุหลาบ  คงทอง
                                                   อรุโณทัย  ซาววา              ขนิษฐา  วงศ์วัฒนารัตน์
                                                                 1/
                                                                                                    1/
                                                                    2/
                                                   ศิริพร  วรกุลด ารงชัย
                       5. บทคัดย่อ
                              ทุเรียนเป็นหนึ่งในไม้ผลที่มีความส าคัญมากของประเทศไทย มีการปลูกแพร่หลายตามภาคต่าง ๆ
                       ของประเทศท าให้เกิดความซ้ าซ้อนในการตั้งชื่อ และข้อมูลด้านเครื่องหมายโมเลกุลที่ใช้ตรวจสอบพันธุ์
                       มีไม่เพียงพอ จึงได้พัฒนาเครื่องหมายโมเลกุล SSR ด้วยเทคโนโลยีการวิเคราะห์ล าดับเบสยุคใหม่ (NGS)

                       ผลจากการศึกษานี้ สามารถหาล าดับเบสรวมได้ 25,909,606,800 เบส จากข้อมูลชิ้นล าดับเบส (raw read)
                       จ านวน 30,107,9102 read จากการรวม raw read ให้เป็นชิ้นดีเอ็นเอที่ยาวขึ้น (contig) ได้ 424,882
                       contig เมื่อน าข้อมูลเหล่านี้ไปค้นหาเครื่องหมาย SSR พบว่าสามารถออกแบบไพรเมอร์ได้จ านวน 11,156 คู่

                       ไพรเมอร์ โดยไพรเมอร์ที่มีล าดับเบสซ้ าแบบซ้ าสองมีมากที่สุด 6,545 (58.67 เปอร์เซ็นต์) คู่ไพรเมอร์
                       รองลงมาคือล าดับเบสซ้ าสาม 2,295 (20.57 เปอร์เซ็นต์) คู่ไพรเมอร์ ล าดับเบสซ้ าหก 1,056 (9.47
                       เปอร์เซ็นต์) คู่ไพรเมอร์ ล าดับเบสซ้ าสี่ 781 (7.00 เปอร์เซ็นต์) คู่ไพรเมอร์ และล าดับเบสซ้ าห้า 479 (4.29
                       เปอร์เซ็น์) คู่ไพรเมอร์ และได้คัดเลือกหาไพรเมอร์ที่ให้แถบดีเอ็นเอแตกต่าง พบไพรเมอร์ SSR 17 คู่
                       ให้รูปแบบการเกิดแถบดีเอ็นเอที่เกิดความแตกต่างกันในทุเรียน 40 พันธุ์ พบรูปแบบอัลลีลที่แตกต่างกัน 73

                       อัลลีล โดยแต่ละไพรเมอร์ให้อัลลีลที่ต่างกันตั้งแต่ 2 ถึง 8 อัลลีล ดังนั้นจึงสามารถสรุปได้ว่าเครื่องหมาย
                       โมเลกุล SSR ที่พัฒนาได้จากการทดลองนี้สามารถใช้แยกความแตกต่างทางพันธุกรรมของทุเรียนที่เป็นพันธุ์
                       เดียวกัน แต่ปลูกในพื้นที่ต่างกัน และแต่มีชื่อเรียกต่างกันได้ และใช้เป็นข้อมูลอ้างอิงส าหรับตรวจสอบ

                       ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมของทุเรียน อีกทั้งยังประโยชน์ส าหรับการปรับปรุงพันธุ์
                       6. การน าผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
                              - น าเครื่องหมายโมเลกุลเอสเอสอาร์ของทุเรียน ซึ่งเป็นข้อมูลในระดับดีเอ็นเอ ที่สามารถวิเคราะห์
                       และตรวจสอบพันธุ์ทุเรียนในระดับเบื้องต้น

                              - น าลายพิมพ์ดีเอ็นเอของทุเรียน จ านวน 40 พันธุ์ เป็นข้อมูลเบื้องต้นส าหรับน าไปใช้เปรียบเทียบพันธุ์
                       จ าแนกพันธุ์ และตรวจสอบข้อมูลในระดับดีเอ็นเอ เพื่อรองรับการตรวจพิสูจน์พันธุ์พืช อีกทั้งยังได้ข้อมูล
                       ส าหรับใช้ประกอบการตัดสินใจการเก็บรักษาเชื้อพันธุกรรม เช่น มีการเก็บตัวอย่างซ้ าหรือไม่ โดยอาจจะเป็น
                       เชื้อพันธุ์เดียวกัน แต่จากสถานที่ หรือมีชื่อเรียกที่แตกต่างกัน เป็นต้น



                       ________________________________________
                       1/
                        ส านักวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ
                       2/
                        ศูนย์วิจัยพืชสวนจันทบุรี


                                                          461
   474   475   476   477   478   479   480   481   482   483   484