Page 528 - บทคดยอการทดลองสนสด 60 สมบรณ_Neat
P. 528

6. การน าผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
                              ด้านวิชาการ
                              - ได้หลักเกณฑ์และวิธีการตรวจสอบพันธุ์พืช เพื่อการคุ้มครองพันธุ์พืชใหม่ ที่เป็นมาตรฐานระดับ
                       อาเซียน ของมะม่วง

                              - ได้คู่มือหลักเกณฑ์และวิธีการตรวจสอบพันธุ์ ของ ส าหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ กรมวิชาการเกษตร
                       ใช้เป็นแนวทางการตรวจสอบพันธุ์พืชที่ยื่นขอจดทะเบียนเป็นพันธุ์พืชใหม่ของพืชดังกล่าว
                              ด้านนโยบาย

                              - ได้ (ร่าง) หลักเกณฑ์ฯ ที่พร้อม เสนอให้กรมวิชาการเกษตร ออกเป็นประกาศและระเบียบฯ
                       เกี่ยวกับแบบค าขอฯ และการตรวจสอบพันธุ์พืช (ฉบับแก้ไข) ที่ยื่นขอจดทะเบียนพันธุ์พืชใหม่ ที่มีมาตรฐาน
                       ในระดับอาเซียนของ มะม่วง ฉบับแก้ไขแทนฉบับเดิม
                              - หลักเกณฑ์และวิธีการตรวจสอบพันธุ์พืช ฉบับบูรณาการ ของกลุ่มประเทศอาเซียน ของมะม่วง
                       สามารถน าไปใช้ส าหรับใช้ตรวจสอบพันธุ์พืชใหม่ที่นักปรับปรุงพันธุ์พืช ได้ยื่นขอจดทะเบียนเป็นพันธุ์พืชใหม่

                       ในประเทศภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้ โดยอาจจะใช้ผลการทดสอบร่วมกัน ซึ่งเป็นการลดค่าใช้จ่าย
                       และเวลาการด าเนินงาน ทั้งนี้ (ร่าง) หลักเกณฑ์ฯ นี้ จะต้องถูกน าเสนอผ่านกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
                       ไปสู่การท าแผนงานด้านทรัพย์สินทางปัญญา เพื่อให้รับหลักการในการประชุมผู้น าอาเซียน ภายใต้กรอบ

                       ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (Asean Economics Community) ต่อไป
                              - หน่วยงานภาครัฐ และองค์กรเอกชนอื่น ๆ สามารถใช้ประโยชน์ได้จาก หลักเกณฑ์ที่มีมาตรฐาน
                       ในระดับอาเซียน หน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องกับการปรับปรุงพันธุ์พืชดังกล่าว ใช้ประกอบการยื่นค าขอ
                       จดทะเบียนพันธุ์พืชใหม่ เช่น กรมวิชาการเกษตร และมหาวิทยาลัยต่างๆ ส่วนในองค์กรเอกชน เช่น

                       เกษตรกร และบริษัทต่างๆ















































                                                          510
   523   524   525   526   527   528   529   530   531   532   533