Page 16 - คู่มือสำหรับครู (เด็ก LD)
P. 16

ใครเปนผูชวยเหลือเด็กกลุมนี้ร
                                   ใค
                                        ตองอาศัยความรวมมือจากบุคลากร
                                   หลายฝาย เชน ทางการศึกษา ทางการแพทย
                                   หลา
                                   ทาง
                                   ทางสังคม และครอบครัว เปนตน









                  การใหการชวยเหลือทางการศึกษา

                  • สรางทัศนคติใหผูบริหารเห็นความสําคัญและใหการสนับสนุน
                  • อบรมความรูเรื่องโรคแอลดีและผลกระทบที่จะเกิดขึ้นทางการศึกษา

                    แกครูทั่วไป
                  • เปดโอกาสใหครูที่สนใจหรือรับผิดชอบเรื่องนี้ ไดมีโอกาสศึกษาและ
                    พัฒนางานการศึกษาพิเศษในโรงเรียน

                  • โรงเรียนควรจัดทําแผนการเรียนรายบุคคลใหสอดคลองกับระดับ
                    ความบกพรองของเด็กแตละดาน

                  • ควรใหมีการจัดการเรียนแบบตัวตอตัว หรือกลุมยอย โดยปรับ
                     การสอนใหเหมาะสมและมีรูปแบบที่หลากหลาย เชน เด็กที่มี
                     ปญหาทางการเขียนอาจใชเครื่องคอมพิวเตอรมาชวย เด็กที่มีปญหา

                     ดานการคํานวณอนุญาตใหใชเครื่องคิดเลข เด็กที่มีปญหาการอาน
                     อาจใชเครื่องอัดเทปมาชวยโดยครูหรือผูปกครองอานหนังสือใสเทป

                     แลวเปดใหเด็กฟง เปนตน
                  • ปรับวิธีการประเมินผลใหเหมาะสมกับตัวเด็ก เชน ใหเวลาทําขอสอบ
                     นานกวาเด็กปกติ ถาเด็กยังอานขอสอบไมออกครูควรอานใหเด็กฟง

                     ถาเด็กยังเขียนไมไดครูควรอนุญาตใหเด็กตอบขอสอบดวยวาจา


         16 เด็กแอลดี คูมือสําหรับครู
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21