Page 17 - คู่มือสำหรับครู (เด็ก LD)
P. 17

•  ควรสงเสริมทักษะดานอื่นๆ เชน ดนตรี กีฬา ศิลปะ และการเขารวม
                     กิจกรรมตางๆ เพื่อใหเด็กเกิดความภาคภูมิใจในตนเอง มีทักษะใน

                     การแกปญหาและอยูรวมในสังคมอยางมีความสุข


                  การใหความชวยเหลือทางการแพทย

                  •  สรางเครือขายการใหบริการทางการแพทย เพื่อเปดโอกาสใหเด็ก
                     ไดรับบริการมากขึ้น

                  •  มีการทํางานประสานกันระหวางบุคลากรทางการศึกษาและ
                     สาธารณสุข
                  •  การตรวจวินิจฉัยตั้งแตเด็กเริ่มเขาสูระบบการศึกษา สามารถทําได

                     โดยการติดตามเด็กกลุมเสี่ยง
                  •  มีการตรวจรักษาความผิดปกติอื่นที่พบรวมกับเด็ก LD เชน

                     โรคสมาธิสั้น ความบกพรองดานภาษาและการสื่อสาร ปญหาอารมณ
                     และปญหาพฤติกรรม



                  การชวยเหลือทางสังคมและครอบครัว
                  •  ควรใหความรูและคําแนะนําแกพอแม เกี่ยวกับปญหาของเด็ก

                     ลดความเครียดและความวิตกกังวลของครอบครัว
                  •  เปลี่ยนพฤติกรรมจากการตําหนิ ลงโทษ เปนความเขาใจ และ
                     สนับสนุนในการสงเสริมทักษะการเรียนรูของเด็ก

                  •  มีการเผยแพรใหสังคมทราบเรื่อง พระราชบัญญัติคนพิการ พ.ศ.2534
                     เด็กที่มีความบกพรองทางการเรียนรูเปนความพิการทางกฎหมาย

                     และเด็กมีสิทธิ์ไดรับการรักษารวมทั้งการศึกษาอยางเหมาะสมตาม
                     ศักยภาพ





                                               เด็กแอลดี คูมือสําหรับครู  17
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22