Page 4 - Sanantinee Thirawut
P. 4

ควำมหมำยของภำษำ





                     ภำษำ คือ เครื่องมือสื่อความเข้าใจ ภาษาตามความหมายอย่าง

              กว้างคือการสื่อความหมายโดยมีระบบกฎเกณฑ์ที่เข้าใจกัน 2 ฝ่าย

              ระหว่างมนุษย์หรือระหว่างสัตว์ก็ได้จะใช้เสียง ท่าทาง หรือสัญลักษณ์อื่น

              ใดก็ได้ ฉะนั้นจึงมีภาษาคนภาษาสัตว์ ภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาใบ้ เป็นต้น

                      ส่วนภาษาตามความหมายอย่างแคบนั้นคือถ้อยค า ที่มนุษย์ใช้พูด

              สื่อความหมายกันบางภาษามีตัวอักษรถ่ายทอดเสียงจึงเรียกว่าภาษาเขียน

              ภาษาของมนุษย์ทั่วไปมีลักษณะร่วมกันที่ส าคัญมี 4 ประการ ดังนี้

                     1. ใช้เสียงสื่อความหมาย บางภาษามีตัวอักษรเป็นเครื่องถ่ายเสียง

              ภาษาคือเครื่องมือที่สื่อความเข้าใจ มีดังนี้

                     - เสียงสัมพันธ์กับความหมาย ค า ไทยบางค า อาศัยเลียนเสียง

              ธรรมชาติและเสียงสัตว์ เช่น โครม เพล้ง ปังกริ๊ง หวูด ออด ตุ๊กๆ กา แมว

              จิ้งจก อึ่งอ่าง ตุ๊กแก

                     - เสียงไม่สัมพันธ์กับความหมาย คือ การตกลงกันของกลุ่มแต่ละ

              กลุ่มว่าจะใช้ค า ใดตรงกับความหมายนั้นๆฉะนั้นแต่ละชาติจึงใช้ค า ไม่

              เหมือนกัน

              ส่วนมากเสียงกับความหมายไม่สัมพันธ์กัน ถ้าเสียงกับความหมายสัมพันธ์

              กันทั้งหมดแล้วคนต่างชาติต่างภาษาก็จะใช้ค า ตรงกัน

                     2. ภาษาประกอบกันจากหน่วยเล็กเป็นหน่วยใหญ่ เช่น เสียง

              (พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์) ค า ประโยค ข้อความเรื่องราว ภาษาแต่ละ

              ภาษามีค า จ า นวนจ า กัดแต่สามารถประกอบกันขึ้นโดยไม่จ า กัดจ า นวน

              เช่น มีค า ว่า ใคร ใช้ ให้ ไป หาสามารถสร้างเป็นประโยคได้หลายประโยค

              และต่อประโยคให้ยาวออกไปได้เรื่อยๆ
   1   2   3   4   5   6   7   8   9