Page 17 - สูจิบัตร งานผูกพัทธสีมาปิดทองฝังลูกนิมิต วัดท่าทองน้อย ต.ศรีภิรมย์ อ.พรหมพิราม จ.พิษณุโลก (28 ธ.ค. 61 - 1 ม.ค. 62)
P. 17

[๑๑]


                                    ประวัติวัดทาทองนอย

                       ตําบลศรีภิรมย  อําเภอพรหมพิราม  จังหวัดพิษณุโลก


                                        

                        วัดทาทองนอย เปนวัดราษฎร สังกัดคณะสงฆมหานิกาย ตั้งอยูที่บานทาทอง
                  เลขที่ ๙๕ หมูที่ ๑ ตําบลศรีภิรมย อําเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก
                        มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่  ๗  ไร  -  งาน  ๗๘.๙/๑๐  ตารางวา มีเอกสารหนังสือ
                  แสดงกรรมสิทธิ์ที่ดิน เปนโฉนดที่ดิน เลขที่ ๖๗๖๓๑ เปนหลักฐาน โดยไดรับการ
                  บริจาคที่ดินเพื่อสรางวัดจากประชาชนผูมีจิตศรัทธา จํานวน ๔ ราย ดังนี้ (๑) นายมั่น
                  วงศครุฑ  (๒) นายอภิจิตร ฤทธิ์รัศมี  (๓) นางสาวพยอม พิมอาจหาญ  และ (๔)
                  นางสาวบุญเทียม วรรณโณ
                        อาณาเขต
                        ทิศเหนือ   ยาว  ๑๗๒.๔๙  วา   จดที่ดินของ นายมั่น วงศครุฑ
                                                 และ ทางสาธารณประโยชน
                        ทิศใต      ยาว  ๑๒๔.๔๑  วา   จดที่ดินของ นายไพบูลย รองศักดิ์
                                                 และ ที่ดินมีการครอบครอง
                        ทิศตะวันออก  ยาว  ๑๖.๘๖  วา  จดทางสาธารณประโยชน
                        ทิศตะวันตก  ยาว  ๒๗.๑๑  วา  จดที่ดินของ นายอภิจิตร ฤทธิ์รัศมี
                        ความเปนมา
                        กลาวกอนการสรางวัดแหงนี้เดิมเปนที่ดินของชาวบานเปนพื้นที่รกรางมีตนไม
                  ขึ้นรกทึบอยูเปนจํานวนมาก และเปนพื้นที่ที่ไมเหมาะสมกับการทําไรทํานาได
                  ประกอบกับเปนแนวเนินคันดินสูงชันซึ่งสภาพพื้นที่บริเวณโดยรอบลอมรอบดวยทุง
                  นา ลําคลองวังมะสระ และอยูใกลเคียงกับเสนทางรถไฟสายเหนือ (กรุงเทพฯ –
                  เชียงใหม) อีกทั้งพื้นที่เปนรูปเนินแนวถนนสมัยโบราณสันนิษฐานตามการสํารวจและ
                  ศึกษาทางโบราณคดีของกรมศิลปากร ในป พ.ศ. ๒๕๑๕ วาเปน "แนวถนนพระรวง"
                  คือ เปนเสนทางคมนาคมสมัยพอขุนศรีอินทราทิตย (พอขุนบางกลางทาว) ในสมัยกรุง
                  สุโขทัยเปนราชธานี ซึ่งสภาพพื้นที่แหงนี้ยังคงปรากฏใหเห็นรองรอย "แนวถนนพระ
                  รวง" อยางเดนชัดเพียงแหงเดียวที่ยังคงหลงเหลืออยู โดยกอนมีการสรางวัดในพื้นที่นี้
                  ชาวบานไดมีการครอบครองในที่ดินดังกลาวตลอดมาเปนระยะเวลาอันยาวนาน
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22