Page 22 - สูจิบัตร งานผูกพัทธสีมาปิดทองฝังลูกนิมิต วัดท่าทองน้อย ต.ศรีภิรมย์ อ.พรหมพิราม จ.พิษณุโลก (28 ธ.ค. 61 - 1 ม.ค. 62)
P. 22
[๑๖]
ตอมาเมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ โดยเห็นสมควรแลววาทางวัดไดสราง
เสนาสนะขึ้นสมควรเปนที่พํานักของพระภิกษุไดแลว นายธราศักดิ์ ชุนกองฮอ (ผู
ไดรับอนุญาตใหสรางวัด) จึงไดดําเนินการจัดทํารายงานขออนุญาตตั้งวัด ไปเพื่อทาง
สํานักงานพระพุทธศาสนาแหงชาติพิจารณาตั้งวัดในพระพุทธศาสนา ดวยความ
เห็นชอบของมหาเถรสมาคม สํานักงานพระพุทธศาสนาแหงชาติจึงประกาศตั้งเปนวัด
ขึ้นในพระพุทธศาสนามีนามวา “วัดทาทองนอย” สังกัดคณะสงฆมหานิกาย ตาม
ประกาศสํานักงานพระพุทธศาสนาแหงชาติ ประกาศ ณ วันที่ ๒๓ เดือน ธันวาคม
พ.ศ. ๒๕๕๗ และลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศทั่วไป เลม ๑๓๒
ตอนที่ ๒๙ ง หนา ๔ ลงวันที่ ๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘ ทั้งนี้นามวัดที่ไดรับตาม
ประกาศโดยการพิจารณาดวยความเห็นชอบของมหาเถรสมาคม
เจาอาวาสวัดทาทองนอย (รูปแรก และรูปปจจุบัน)
ปจจุบันมี พระอธิการสัมฤทธิ์ ขนฺติพโล (นามสกุล ฮงแกว) เปนเจาอาวาสวัด
ทาทองนอย ประวัติ ภูมิลําเนาเดิมเปนชาวตําบลไทรนอย อําเภอบางบาล จังหวัด
พระนครศรีอยุธยา ไดศึกษาสอบไลไดนักธรรมชั้นตรี และไดจบการศึกษาสามัญ
ระดับ มศ.๓ กอนไดรับแตงตั้งใหดํารงตําแหนงเจาอาวาสวัดทาทองนอย เปนหัวหนา
ผูดูแลที่พักสงฆบานนอยทาทอง ตั้งแตวันที่ ๒๙ เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๓๕ –
วันที่ ๙ เดือน กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๕๕๘ และหลังจากไดรับประกาศตั้งวัดแลว ไดรับ
คําสั่งแตงตั้งใหเปนผูรักษาการแทนเจาอาวาสวัดทาทองนอย ตั้งแตวันที่ ๑๐ เดือน
กุมภาพันธ – วันที่ ๓๐ เดือน กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘ ตอมาไดรับแตงตั้งใหดํารง
ตําแหนงเจาอาวาสวัดทาทองนอย (เปนรูปแรก และรูปปจจุบัน) ตั้งแตวันที่ ๑ เดือน
ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ เปนตนมาจนถึงปจจุบัน
พระอธิการสัมฤทธิ์ ขนฺติพโล เปนแกนนําผูริเริ่มที่สําคัญในการกอสรางวัดทา
ทองนอย รวมกับชาวบานนอย ชาวบานทาทอง และผูมีจิตศรัทธาโดยทั่วไปในการ
รวมใจกันสรางวัด และพัฒนาวัดใหมีความเจริญรุงเรืองเปนตนมาตามลําดับ ในการนี้
พระอธิการสัมฤทธิ์ ขนฺติพโล ไดสรางสาธารณูปการภายในวัดนานัปการตั้งแต
สิ่งกอสรางที่มีขนาดเล็กไปจนถึงสิ่งกอสรางที่มีขนาดใหญตางๆ โดยริเริ่มพัฒนา
กอสรางอาคารเสนาสนะ และสิ่งปลูกสรางภายในวัดจนแลวเสร็จ มีดังนี้ (๑) ศาลา
การเปรียญ (หลังเกา) สรางเมื่อป พ.ศ. ๒๕๓๖ (๒) กุฏิสงฆ (คอนกรีตเสริมเหล็ก)
จํานวน ๘ หลัง (๓) เมรุ (คอนกรีตเสริมเหล็ก) สรางเมื่อป พ.ศ. ๒๕๓๘ – ๒๕๔๓ (๔)
ศาลาธรรมสังเวช (คอนกรีตเสริมเหล็ก) สรางเมื่อป พ.ศ. ๒๕๔๕ – ๒๕๔๙