Page 5 - งานนำเสนอ PowerPoint
P. 5
งี่เทียนถ่อง (Ngee Tian Tong)
ในพ.ศ.2484 ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ทหารญี่ปุ่นยกพลขึ้นที่หาดสมิหลาและเข้าบุกย่านเมืองเก่า
สงขลาท าให้ชาวบ้านรวมทั้งนายหวุ่น แซ่ตัน และนายกู้ปุ้น แซ่ตัน ต่างพากันหนีไปอยู่ที่บ้านพร้าว ฝั่งหัวเขา
แดง เมื่อสงครามสิ้นสุดลงร้านยาได้รับความเสียหายจากสงครามจึงได้ย้ายร้านมาอยู่ที่หัวถนนหนองจิก
(ที่ตั้งแห่งที่ 2) โดยโกดังยา อยู่ที่ร้านขนมไทยจงดีในปัจจุบันและร้านยาอยู่ฝั่งตรงข้าม
ต่อมาการค้าในถนนหนองจิกซบเซาลงจึงมีการย้ายร้านยามาอยู่ที่เก้าห้อง ซึ่งคือถนนนางงามในปัจจุบันโดยใกล้กับโรงแรมฮาวาย (ที่ตั้งแห้งที่ 3)
โดยมีการเช่าห้องแถว2ห้องเป็นร้านและโกดังเก็บยา ซึ่งปัจจุบันคือร้านกาแฟแก้วโปรด หลังจากนั้นค่าเช่ามีการปรับราคาสูงขึ้น จึงได้มีการซื้อบ้านเลขที่
59 ณ ถนนนางงาม ซึ่งตรงข้ามกับเจ้าพ่อหลักเมือง(ที่ตั้งแห้งที่4 หรือที่ตั้งในปัจจุบัน) โดยเปิดกิจการร้านขายยา ณ ที่ดังกล่าวมาจนถึงปัจจุบัน
ความเป็นโบราณดั้งเดิมของร้านที่มีมากว่า
ในการขายยารักษาโรคจะมีการจัดยาตามใบสั่งของหมอ
แหมะ (หมอจับชีพจร) ซึ่งหมอแหมะมีฐานะคล้ายๆกับลูกจ้างของ 90 ปี ซึ่งบรรยากาศของร้านยังคง
ร้านขายยา ซึ่งมีหน้าที่จับชีพจรเพื่อตรวจอาการของคนไข้จากนั้นก็ ประกอบด้วยเครื่องมือ สิ่งของ ต่างๆจากอดีต
จะเขียนใบสั่งยาให้กับหมอยา ซึ่งก็คือนายหวุ่น แซ่ตัน ได้แก่ ตู้ไม้ลิ้นชักใส่สมุนไพรจีน สมุนไพรไทย
ตู้ยาโบราณ กระป๋องยาสมุนไพร ปี๊บที่มี
ลายมือเขียนด้วยชอล์ก หรือพู่กันจีนเป็น
โดยยาที่จ าหน่ายจะจัดเป็นเทียบๆ (ห่อ) ซึ่งมีสมุนไพร10-
15ชนิด ซึ่งต้องมีการน าไปต้มโดยยา1ห่อใช้น้ า 3 ถ้วย แล้วต้มให้ ภาษาจีน มีดหั่นยา(รูปทรงคล้ายมีดประหาร
เหลือครึ่งถ้วยเพื่อใช้กินในการรักษาโรค โดยจะต้องงดกินของแสลง ของเปา บุ้น จิ้น) ตาชั่งและลูกตุ้มแบบโบราณ
เช่น น้ าแข็ง น้ าเย็น ผักบุ้ง หัวไชเท้า เพราะของแสลงจะเข้าไปล้าง ครกต ายาเป็นต้นและยังมีอุปกรณ์ต่างๆและ
ยาท าให้การรักษาโรคไม่ได้ผล โดยยาสมุนไพรที่จ าหน่ายมีการ กลิ่นอายของยาสมุนไพรที่ท าให้ได้ซึมซับ
สั่งซื้อยาจากย่านเยาวราชในกรุงเทพ ซึ่งมีการขนส่งมาทางเรือและ ความเป็นอดีตอย่างยาวนานที่อยู่คู่ย่านเมือง
ทางบก (รถไฟและรถยนต์) โดยจุดเด่นที่ยังคงสะท้อนกลิ่นอาย เก่ามาอย่างยาวนานกว่า 90 ปี
03 ความเป็นมา