Page 12 - ตรีโกณมิติ J&O
P. 12

นิยำมด้วยอนุกรม









































                         ฟังก์ชันไซน์ (สีแดง) มีค่าใกล้เคียงกับพหุนามเทย์เลอร์ดีกรี 7 ของมัน (สีเขียว)

          ส าหรับวงกลมที่อยู่บนจุดก าเนิด

          โดยการใช้เรขาคณิตและคุณสมบัติของลิมิต เราแสดงได้ว่าอนุพันธ์ของไซน์คือโคไซน์ และอนุพันธ์
          ของไคโซน์คือค่าลบชองไซน์ เราสามารถใช้อนุกรมเทย์เลอร์ส าหรับแสดงเอกลักษณ์ต่อไปนี้ส าหรับ
          ทุกจ านวนจริง x:


















                        เอกลักษณ์เหล่านี้มักใช้เป็น นิยาม ของฟังก์ชันไซน์ และโคไซน์ ซึ่งน าไปใช้เป็น

          จุดเริ่มต้นแบบเข้มของฟังก์ชันตรีโกณมิติ และการประยุกต์ของมัน (เช่น อนุกรมฟูรีเย) เพราะว่ามันมี

          พื้นฐานอยู่บนระบบจ านวนจริง ไม่ขึ้นกับการตีความทางเรขาคณิตใดๆ การหาอนุพันธ์ได้และความ
          ต่อเนื่ องของฟังก์ชันก็มาจากนิยามนี้
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17