Page 26 - ทหารปืนใหญ่ 62
P. 26
ท ห า ร ปื น ใ ห ญ่ 26
172. การควบคุมอาวุธสนับสนุน เมื่อก าลังรบยกพลฯ ได้จัดตั้งบนฝั่งได้ส าเร็จ และสิ่งอ านวย
ความสะดวกในการจัดตั้ง ศปยส.(FSCC) มีพร้อมแล้ว คือ
ผบ.ก าลังรบสะเทินน้ าสะเทินบก (CLF) โดยแจ้งไปยัง ผบ.กองเรือเฉพาะกิจฯ (CATF)
เมื่อพร้อม / การโอนการควบคุมอาวุธสนับสนุนอาคจะ กระท าเป็นส่วน ๆ
173. พันธกิจหลักของ ศปอส.(SACC) ได้แก่ การให้ค าแนะน า และข้อเสนอซึ่งได้รับการ
ประสานแล้วแก่ ผบ.ชา
174. ศปยส.(FSCC) ประกอบด้วย ผปยส. / ผู้แทนอาวุธสนับสนุนต่าง ๆ /
นายทหารข่าวสารเป้าหมาย (TIO) และ จนท.ยุทธการข่าวกรอง และสื่อสาร
175. ผู้มีหน้าที่เพียงการก ากับดูแลทั่วไป ในหน้าที่ของ ศปยส.เป็นเพียงให้ค าแนะน าวางแผน
และประสานเท่านั้นไม่มีหน้าที่บังคับบัญชา หรือควบคุมอาวุธอาวุธสนับสนุนต่าง ๆ ได้แก่
สธ.3 / ฝอ.3
176. นายทหาร ป. ,นายทหารเรือ , นายทหารอากาศ(ผู้แทนอาวุธสนับสนุนต่าง ๆ)ปฏิบัติหน้าที่
เป็น นายทหารกิจการพิเศษ ของหน่วยรับการสนับสนุน
177. ผู้ที่ให้ค าแนะน า ผปยส. เกี่ยวกับ แผนจ ากัดการยิงคือ นายทหารอากาศ
178. ผู้รักษาแผ่นสถานภาพ (STATUS BOARD) เกี่ยวกับเรือยิงสนับสนุน คือ นายทหาร ป.เรือ
179. ผปยส.รับผิดชอบ การจัด และปฏิบัติหน้าที่ใน ศปยส. มีหน้าที่ และรับผิดชอบ ในการยิง
สนับสนุนทั้งมวล จาก ผบ.ชามาประสานกับแผนปฏิบัติต่าง ๆ
ด ารงการติดต่ออย่างใกล้ชิดกับ นายทหารยุทธการ และนายทหารข่าวกรอง ของ บก.
180. นายทหารข่าวสารเป้าหมาย (TARGET INFORMATION OFFICER – TIO )
นายทหารประทวน อาจท าหน้าที่นี้ได้ในระดับหน่วยต่ า มีหน้าที่
แจ้งให้ผู้แทนอาวุธสนับสนุนต่าง ๆ ได้ทราบสถานภาพของเป้าหมาย ให้ค าแนะน า และ
ล าดับการโจมตี
ประเมินค่า และบันทึกผลการโจมตีต่อเป้าหมายเฉพาะ
181. จุดส าคัญในการจัดให้มีการยิงสนับสนุนอย่างได้ผลก็คือ การจัดมอบผู้แทนการร้องขอ
พร้อมเครื่องมือสื่อสาร แต่ละชนิดอาวุธสนับสนุน ไปประจ าอยู่กับ ผบ.หน่วยรับการ
สนับสนุน