Page 30 - ทหารปืนใหญ่ 62
P. 30
ท ห า ร ปื น ใ ห ญ่ 30
204. แนวประสานการยิงสนับสนุน / นปยส. (FSCL) จะแจกจ่าย ให้ทราบทั้งหน่วยด าเนินกล
ยุทธ และทางหน่วยสนับสนุน โดยแจกจ่ายไปยัง หน่วยเหนือ-หน่วยข้างเคียง และหน่วย
ที่มาสนับสนุน ตลอดจน ศูนย์ควบคุมการสนับสนุนทางอากาศยุทธวิธี
205. พื้นที่การยิงเสรี พยร.(FFA) คือ พื้นที่เฉพาะอันหนึ่งที่ก าหนดขึ้น เพื่อให้ระบบอาวุธทั้งปวง
ท าการยิงในพื้นที่นี้ได้ โดย ไม่ต้องประสานเพิ่มเติมกับหน่วยจัดตั้ง
206. พื้นที่การยิงเสรี พยร.(FFA) จัดตั้งโดย ผบ.ก าลังรบยกพลขึ้นบก (CLF)
207. พื้นที่การยิงเสรี พยร.(FFA) ควรสังเกตได้ง่ายจากทางอากาศ หรือ อาจก าหนดโดย ใช้เส้น
ตารางได้ / แจกจ่ายให้กับ หน่วยรองต่าง ๆ ของกองก าลัง
สัญลักษณ์ พยร. ใช้ เส้นทึบวงรอบสีด า / ภายในวงรอบ มีค าย่อ พยร. บรรทัดแรก ,
บรรทัดสอง นามย่อหน่วยจัดตั้ง , บรรทัดล่างสุด วัน –เวลา ผลบังคับ
พยร.
กกล.ยบ.นย.
292200 มี.ค.56 – 311600 มี.ค.56
208. มาตรการจ ากัด ได้แก่
แนวจ ากัดการยิง (นจย.) ( RESTIRCTIVE FIRE LINE–RFL ) / ผู้จัดตั้ง ผบ.ชาร่วม หน่วย
บรรจบ
พื้นที่จ ากัดการยิง (พจย.) (RESTIRCTIVE FIRE AREA–RFA ) / ผู้จัดตั้ง กองพัน หรือสูงกว่า
พื้นที่ห้ามยิง (พหย.) (NO FIRE AREA – NFA ) / ผู้จัดตั้ง ผบ.กองก าลังรบยกพลขึ้นบก
(CLF) ร่วม จนท.ฝ่ายบ้านเมือง
พื้นที่ประสานห้วงอากาศ (พปอ.) (AIRSPACE COORDINATION AREA – ACA ) /
ผู้จัดตั้ง ผบ.กรม หรือสูงกว่า
209. แนวจ ากัดการยิง (นจย.) ( RESTIRCTIVE FIRE LINE – RFL ) คือ
แนวที่ก าหนดขึ้น ระหว่างหน่วยสองหน่วยที่เข้ามาบรรจบกัน โดยห้ามท าการยิงใด ๆข้าม
แนวนี้ ถ้ายังไม่ได้ประสาน เพิ่มเติมกับ บก.หน่วยจัดตั้ง / ที่ตั้ง ควรก าหนดลงบนภูมิ
ประเทศเด่นชัด ปกติ ก าหนดไว้ใกล้ ๆ หน่วยที่อยู่กับที่