Page 35 - ทหารปืนใหญ่ 62
P. 35
ท ห า ร ปื น ใ ห ญ่ 35
231. ประเภทการยิงสนับสนุน ตามขีด “การเตรียมการล่วงหน้า” (DEGREE OF
PREARRANGEMENT) แบ่งออกเป็น 2 แบบ
การยิง ปม.ตามแผน (PLANNED FIRE) ยิงต่อ ปม.ที่ได้เตรียมหลักฐานยิงไว้ล่วงหน้า
การยิง ปม.ตามเหตุการณ์ (FIRE ON TARGETS OF OPORTUNITY) ยิงต่อ ปม.ที่เกิดขึ้น
ทันทีทันใด และโจมตีโดยไม่ได้มีการเตรียมการณ์ล่วงหน้า
232. การยิง ปม.ตามแผน (PLANNED FIRE) แบ่งออกเป็น 2 ชนิด
การยิงตามก าหนดเวลา (SCHEDULED FIRE) ยิงไปตามล าดับเวลาที่ก าหนดไว้
การยิงตามค าขอ (ON – CALL FIRE) ยิงตามแผน ที่จะท าการยิงเมื่อมีการร้องขอ (เพื่อให้
เกิดความรวดเร็ว และลดเวลาในการปฏิบัติการยิงให้น้อยลง)
233. การยิงป้องกันขั้นสุดท้าย (FINAL PROTECTIVE FIRE - FPF) เป็นการยิงที่วางแผนไว้
ล่วงหน้า เพื่อสร้างฉากขัดขวางการเคลื่อนที่ของข้าศึก ที่จะผ่านพื้นที่ หรือแนวตั้งรับเข้ามา
ต้องมีการสนธิเข้ากับแผนการตั้งรับของ หน่วยด าเนินกลยุทธเป็นอย่างดี
234. ผู้แบ่งฉากการยิงขั้นสุดท้ายให้กับ กองพัน ได้แก่ ผบ.กรม และ / ผบ.พัน จะแบ่งให้กับ
กองร้อยต่าง ๆ
235. ผู้ที่ก าหนดที่ตั้งฉากการยิงที่แน่นอนของการยิงป้องกันขั้นสุดท้าย ลงในภูมิประเทศได้แก่
ผบ.หน่วยด าเนินกลยุทธ
236. การยิงป้องกันขั้นสุดท้าย (FINAL PROTECTIVE FIRE - FPF) จะมี ผตน.เป็นผู้รับผิดชอบ
ในเรื่อง
รายงานที่ตั้งฉากการยิง ไปยัง ศอย.พัน.ป.ที่ให้การสนับสนุน
ท าการปรับการยิง (เป็นรายกระบอก) ให้เป็นรูปแบบตามต้องการ
เป็นผู้ส่งค าขอยิงฉาก ไปยัง ศอย.
237. ผู้มีสิทธิอ านาจในการสั่งยิงป้องกันขั้นสุดท้ายที่อยู่ในพื้นที่ของตน ปกติได้แก่
ผบ.ร้อย หรือ ผบ.มว.
238. การยิงเตรียม คือ การยิงอย่างหนาแน่นตามตารางเวลา เพื่อสนับสนุนการเข้าตี
239. การยิงเตรียม อาจวางแผนโดย พัน.ป.ชต. หรือ กรม ป. ก็ได้
240. การยิงเตรียม ตามปกติจะเริ่มยิง จะท าการยิงก่อนเวลา น. แล้วไปเลิกยิงหลังเวลา น.
เล็กน้อย / แต่อาจเริ่มยิงตามเวลาที่ก าหนด หรือยิงเมื่อได้รับการร้องขอก็ได้