Page 34 - ทหารปืนใหญ่ 62
P. 34
ท ห า ร ปื น ใ ห ญ่ 34
221. การยิงข่ม (SUPPRESSION FIRE) จะ ตอบสนอง อย่างรวดเร็วเป็นสิ่งส าคัญมากกว่าความ
แม่นย า / อาจท าแผนล่วงหน้า หรือ การยิงโดยทันที ก็ได้
222. ปม.จะท าการยิงรบกวน ได้แก่ ที่ตั้งหน่วยยิง – ต าบลส่งก าลัง – ที่บังคับการ – ที่รวมพล
และที่ตรวจการณ์
223. การยิงส่องสว่างเพื่อ
ส่องสว่างบริเวณที่สงสัยมีการเคลื่อนไหวข้าศึก
เฝ้าตรวจสนามรบ
ช่วยเหลือในการปรับการยิงกระสุนระเบิด
รบกวนข้าศึก
ช่วย หน่วย ลว.หรือ หน่วยที่เข้าตีในเวลากลางคืน รักษาทิศทางการเคลื่อนที่ได้
224. การยิงควันพรางมีวัตถุประสงค์เพื่อ
ช่วยเหลือการเสริมความมั่นคง ด้วยการยิงควันไปยังบริเวณที่หมาย
ลวงข้าศึกให้คิดว่ามีหน่วยฝ่ายเราอยู่ในบริเวณใกล้เคียงนั้น
225. การยิงควันพรางที่เหมาะสมควรยิง ห่างจากหน่วยฝ่ายเรา ประมาณ 2 กม.
226. ประเภทการยิงสนับสนุน “ตามขีดขนาดของการตรวจการณ์” อาจแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
การยิงที่ มีการตรวจการณ์ (OBSERVED FIRE)
การยิงที่ ไม่มีการตรวจการณ์ (UNOBSERVED FIRE)
227. การยิงที่ มีการตรวจการณ์ (OBSERVED FIRE) เป็นการยิงซึ่ง สามารถตรวจการณ์ได้ โดย
ผตน.ทางพื้นดิน หรือ ผตอ. ทางอากาศ
228. การตรวจผลการยิงเพื่อ ท าการ ปรับ และแก้ ให้การยิงขั้นต่อมามีประสิทธิภาพมากที่สุด
229. การยิงที่ ไม่มีการตรวจการณ์ (UNOBSERVED FIRE) เป็นการยิงซึ่ง ยิงลงบน ปม.ที่หน่วย
ทหารฝ่ายเดียวกัน หรือ ผตน. ไม่สามารถตรวจการณ์ได้
การก าหนด ปม.นั้นได้มาจาก การก าหนดลงบนแผนที่ , ภาพถ่าย หรือได้มาจากแหล่งข่าว
ที่เกี่ยวกับ ปม.
230. การยิงที่ ไม่มีการตรวจการณ์ จะเกิดประสิทธิภาพก็ต่อเมื่อ สามารถก าหนดที่ตั้งเป้าหมาย
และน าหลักฐานค่าตัวแก้ต่าง ๆ จากการยิงหาหลักฐานมาใช้อย่างถูกต้อง