Page 6 - การแสดงพื้นเมืองสี่ภาค
P. 6
หน้า 3 หน้า 4
การแสดงพื้นเมืองภาคเหนือ ฟ้ อนสาวไหม
ฟ้ อนสาวไหม เป็นศิลปะการฟ้ อนร�าประเภทหนึ่งของชาวล้านนาที่มี
พัฒนาการทางรูปแบบมาจากการ เลียนแบบอากัปกิริยาการสาวไหม ผู้ฟ้ อน
ส่วนใหญ่มักเป็ นหญิงสาวลีลาในการฟ้ อนดูอ่อนช้อยและงดงามยิ่ง
ฟ้ อนสาวไหมเป็นฟ้ อนทางภาคเหนือ ทางวิทยาลัยนาฏศิลป์เชียงใหม่ได้
ปรับปรุงสืบทอด มาจาก ครูพลอยศรี สรรพศรี ทั้งนี้ ครูพลอยศรีได้ถ่ายแบบ
รับท่ามาจากหญิงชาวบ้านที่จังหวัดเชียงราย ชื่อ บัวเรียว รัตนมณีกรณ์ ซึ่งคุณ
บัวเรียวก็ได้เรียนการฟ้ อนนี้ มาจากบิดาของตนอีกทีหนึ่ง
เป็นศิลปะการร�า และการละเล่น หรือที่นิยมเรียกกันทั่วไปว่า
“ฟ้ อน” การฟ้ อนเป็นวัฒนธรรมของชาวล้านนา และกลุ่มชนเผ่าต่าง
ๆ เช่น ชาวไต ชาวลื้อ ชาวยอง ชาวเขิน เป็นต้น ลักษณะของการ
ฟ้ อน แบ่งเป็น 2 แบบ คือ แบบดั้งเดิม และแบบที่ปรับปรุงขึ้นใหม่
แต่ยังคงมีการรักษาเอกลักษณ์ทางการแสดงไว้คือ มีลีลาท่าร�าที่แช่ม ผู้แสดง ใช้ผู้หญิงแสดงจ�านวนเท่าไรก็ได้ ปัจจุบันก็มีผู้ชายเข้ามาแสดงด้วยก็มี
ช้า อ่อนช้อยมีการแต่งกายตามวัฒนธรรมท้องถิ่นที่สวยงามประกอบ การแต่งกาย แต่งกายแบบพื้นเมือง คือนุ่งผ้าถุง ใส่เสื้อแขนกระบอกห่มสไบ
กับการบรรเลงและขับร้องด้วยวงดนตรีพื้นบ้าน เช่น วงสะล้อ ซอ ซึง ทับเกล้าผมมวยประดับดอกไม้
วงปูเจ่ วงกลองแอว เป็นต้น โอกาสที่แสดงมักเล่นกันในงานประเพณี การแสดง เริ่มจากการแสดงท่าหักร้างถางพง เพาะปลูกฝ้ ายและหม่อน ซึ่ง
หรือต้นรับแขกบ้านแขกเมือง เป็นการแสดงของช่างฟ้ อนชาย เพิ่งเพิ่มเข้ามาภายหลัง ต่อจากนั้นก็เป็น
ท่วงท่าในการฟ้ อนสาวไหมเริ่มจากท่าเลือกไหม ดึงไหมออกจากรัง ม้วนไหม
สาวไหมออกจากตัว ไหล่ ศีรษะ เท้า ม้วนไหมใต้ศอก พุ่งกระสวย กรอไหม
พาดไหมป๊ อกไหม จนกระทั่งชื่นชมกับผ้าที่ทอส�าเร็จแล้ว