Page 3 - สารกรมการแพทย์ ฉบับที่ 9
P. 3

ขาว Hot ประเด็นรอน   3







                                                กรมการแพทยหวงใยผูสูงอายุ




                                                 แนะฉีดวัคซีนไขหวัดใหญ




                                                 ปองกันโรคแทรกซอน

            กรมการแพทยแนะกลุมเสี่ยงโดยเฉพาะผูสูงอายุควรฉีดวัคซีนไขหวัดใหญ เพื่อปองกันการแพรระบาด ลดความรุนแรงของโรค

        และอาการแทรกซอนรุนแรงที่จะเกิดตามมา


                                นายแพทยปานเนตร  ปางพุฒิพงศ

                                รองอธิบดีกรมการแพทย
                                     เปดเผยวา โรคไขหวัดใหญเปนโรคที่พบบอยในทุกกลุมอายุ ซึ่งระบาดมากในฤดูฝน โดยเฉพาะ
                                ในกลุมเสี่ยงที่มีภูมิตานทานนอยอาจมีอาการแทรกซอน บางรายถึงขั้นเสียชีวิต การติดตอเกิดจากเชื้อไวรัส

                                ที่อยูในเสมหะ น้ำมูก น้ำลาย หรือเสมหะของผูปวย แพรกระจายไปยังบุคคล บางรายไดรับเชื้อทางออม

                                ผานทางมือหรือสิ่งของเครื่องใชที่ปนเปอน เชน แกวน้ำ ลูกบิดประตู โทรศัพท  เชื้อจะเขาสูรางกายทางจมูก
                                ตา ปาก ทั้งนี้ เพื่อปองกันการแพรระบาด ลดความรุนแรงของโรคและอาการแทรกซอน แนะ 7 กลุมเสี่ยง

        ที่ควรไดรับการฉีดวัคซีนไขหวัดใหญ คือ 1. หญิงที่มีอายุครรภ 4 เดือนขึ้นไป 2. เด็กอายุ 6 เดือนถึง 2 ป 3. ผูมีโรคเรื้อรังประจำตัว
        ไดแก โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง หัวใจ หอบหืด ไตวาย  หลอดเลือดสมอง ผูปวยมะเร็งที่อยูระหวางการไดรับเคมีบำบัดและเบาหวาน

        4. ผูสูงอายุที่อายุ 65 ปขึ้นไป 5. ผูพิการทางสมองที่ชวยเหลือตนเองไมได 6. ผูปวยโรคธาลัสซีเมียและผูที่ภูมิคุมกันบกพรอง รวมทั้ง

        ผูติดเชื้อ HIV ที่มีอาการ 7. ผูที่มีน้ำหนักตั้งแต 100 กิโลกรัม ซึ่งสามารถรับบริการไดทุกสิทธิการรักษาโดยไมเสียคาใชจายที่โรงพยาบาล
        ของรัฐและสถานพยาบาลเอกชนที่รวมโครงการหลักประกันสุขภาพแหงชาติทั่วประเทศ ตั้งแตวันที่ 11 มิถุนายน - 31 สิงหาคม 2561

        วัคซีนไขหวัดใหญที่ไดรับจะครอบคลุมเชื้อไขหวัดใหญ รวม 3 สายพันธุ ไดแก 1. ชนิด A (H1N1) 2. ชนิด A (H3N2) 3. ชนิด B
        โดยมีผลในการปองกันรอยละ 60 - 70




                                                         นายแพทยประพันธ  พงศคณิตานนท
            ผูอำนวยการสถาบันเวชศาสตรสมเด็จพระสังฆราชญาณสังวร เพื่อผูสูงอายุ กรมการแพทย
            กลาวเพิ่มเติมวา อาการปวยมักจะเกิดขึ้นทันทีทันใดโดยมีไขสูง ตัวรอน หนาว ปวดเมื่อยตาม

        กลามเนื้อมาก โดยเฉพาะที่หลังตนแขน ตนขา ปวดศีรษะ ออนเพลีย เบื่ออาหาร คัดจมูก มีน้ำมูกใส ๆ
        ไอแหง ผูปวยสวนใหญมีอาการไมรุนแรง แตบางรายที่มีอาการปอดอักเสบอาจทำใหหายใจเร็ว เหนื่อย

        หอบ และเสียชีวิตได  สำหรับการรักษาเปนการรักษาตามอาการ แตในกลุมเสี่ยงที่มีอาการรุนแรง

        แพทยจะใหยาตานไวรัสโรคไขหวัดใหญ คือ ยาโอลเซลทามิเวียร ทั้งนี้ ผูปวยควรดูแลตนเอง ดังนี้ นอนหลับพักผอนในหองที่มีอากาศ
        ถายเทดี ไมควรออกกำลังกาย ดื่มน้ำเกลือแรหรือน้ำผลไมมาก ๆ งดดื่มน้ำเย็น รับประทานอาหารที่มีประโยชน เชน โจก ขาวตม

        ไข ผัก ผลไม หากมีไขควรใชผาชุบน้ำ เช็ดตัว ถาไขไมลดใหรับประทานยาลดไข เชน พาราเซตามอล หามใชยาแอสไพริน หากอาการ
        ไมดีขึ้นภายใน 2 วัน ควรรีบไปพบแพทย




 สารกรมการแพทย                                                               ปที่ 1 ฉบับที่ 9 สิงหาคม 2561  สารกรมการแพทย
   1   2   3   4   5   6   7   8