Page 4 - สารกรมการแพทย์ ฉบับที่ 9
P. 4

อโรคยา
         4








         สถาบันมะเร็งแหงชาติ




         แนะตรวจเตานมดวยตนเองเปนประจำ

              สถาบันมะเร็งแหงชาติ กรมการแพทย แนะตรวจเตานมดวยตนเองเปนประจำ สามารถคัดกรอง

         โรคมะเร็งไดตั้งแตระยะเริ่มแรกเพิ่มโอกาสการรักษาใหหายขาด



                                    นายแพทยสมศักดิ์  อรรฆศิลป

                                    อธิบดีกรมการแพทย
                                         กลาววา มะเร็งเตานมเปนโรคมะเร็งที่พบเปนอันดับ 1 ในสตรีไทย โดยสถิติตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน

                                    พบวาโรคมะเร็งเตานมมีอุบัติการณเกิดโรคสูงขึ้นอยางตอเนื่อง จากขอมูลทะเบียนมะเร็งในประเทศไทย
                                    ป 2554 พบวามีผูปวยรายใหม 12,613 ราย หรือคิดเปน 28.5 ตอประชากร 100,000 คน ปจจุบัน

                                    ยังมีแนวโนมที่สูงขึ้นอยางตอเนื่อง ผูหญิงอายุนอยตั้งแต 20 ปขึ้นไป มีความเสี่ยงมากขึ้นที่จะเปน
                                    โรคมะเร็งเตานมเชนกัน ดวยเหตุนี้สังคมตองเริ่มตื่นตัวเพื่อรูเทาทันภัยเงียบนี้ เพราะหากตรวจพบเร็ว

         จะเพิ่มโอกาสในการรักษาใหหายขาดไดมากขึ้น โดยผูหญิงทุกชวงอายุมีความเสี่ยงที่จะเปนโรคนี้ไดทุกคน จึงแนะนำใหหมั่นสังเกต
         ความผิดปกติดวยตนเอง และตรวจเตานมเปนประจำหรือเขารับการตรวจเมมโมแกรมเพิ่มเติมเมื่อมีอายุ 40 ปขึ้นไป




                                                             นายแพทยวีรวุฒิ อิ่มสำราญ

                                                        ผูอำนวยการสถาบันมะเร็งแหงชาติ
              กลาวเพิ่มเติมวา การตรวจเตานมดวยตนเองเริ่มตนจากการดูเตานมของตัวเองหนากระจก

         ประกอบดวย 3 ทายอย ไดแก ทาแรกยืนตรงแขนชิดลำตัว ดูเปรียบเทียบบริเวณเตานมทั้ง 2 ขาง
         ตั้งแตขนาด รูปราง รอยบุม รอยยน สีและการบวมของผิวหนังลักษณะของหัวนมและลานนม จากนั้น

         ก็หันตัวเล็กนอยเพื่อสังเกตดานขางของเตานมทั้งสองขางดวย ทาที่ 2 ยกมือทั้ง 2 ขางขึ้นเหนือศีรษะ
         รวมกับการขยับแขนขึ้นลง เพื่อสังเกตความผิดปกติเชนเดียวกัน โดยเฉพาะสามารถสังเกตรอยบุม

         ของผิวหนังบริเวณเตานมที่เกิดจากการดึงรั้งไดชัดเจนมากขึ้น เนื่องจากในรายที่เปนมะเร็งอาจจะมีการดึงรั้งผิวหนังใหเกิดรอยบุมได
         และทาที่ 3 เอามือทาวสะเอวทั้ง 2 ขาง กดและปลอยมือเพื่อใหกลามเนื้อหนาอกเกร็งตัว และโนมตัวไปขางหนาเพื่อใหสังเกตรอยดึงรั้ง

         ของผิวหนังไดงายขึ้น
              ขั้นตอนตอไปคือ การคลำที่เตานม สามารถทำไดทั้งในทานั่งและทานอน โดยใชดานฝามือของนิ้วชี้ นิ้วกลาง และนิ้วนางบริเวณ

         คอนไปทางปลายนิ้ว การคลำเตานมมี 3 แบบคือ 1. คลำเปนกนหอยหรือตามเข็มนาิกา (Clock Pattern) เริ่มคลำจากสวนบนหัวนม
         วนเลื่อนนิ้วมือตามเข็มนาิกา เปนวงกลม ขยายวงออกไปเรื่อย ๆ จนถึงฐานเตานมและบริเวณรักแร 2.คลำตามแนวนอนขึ้นลงขนานกับ

         ลำตัว (VerticalStrip) เริ่มคลำจากสวนลางดานนอกของเตานมเปนแนวยาวถึงกระดูกไหปลารา โดยใชนิ้วมือทั้ง 3 คลำในแนวขึ้นลง
         สลับกันไปมาใหทั่วเตานม 3. คลำเปนรัศมีรอบเตานมหรือรูปลิ่ม (Wedge Pattern) เริ่มคลำจากสวนบนเตานมจนถึงฐาน และขยับนิ้วมือ

         จากฐานถึงหัวนม เปนรัศมีรอบเตานมถึงกระดูกไหปลาราและบริเวณรักแร สุดทายคือการบีบบริเวณหัวนมและลานหัวนมเบา ๆ
         เพื่อดูวามีน้ำผิดปกติออกมาหรือไม หากตรวจพบความผิดปกติควรรีบไปพบแพทย เพื่อทำการตรวจอยางละเอียดตอไป




         สารกรมการแพทย  ปที่ 1 ฉบับที่ 9 สิงหาคม 2561
   1   2   3   4   5   6   7   8