Page 47 - e-Book Cold Chain
P. 47

40

                            ื่
                                                          ี
                                                                                                        ั
                  ประเทศ เพอเป็นกลไกขับเคลื่อนเศรษฐกิจในอก 20 ปีข้างหน้า ที่ต่อยอดความส าเร็จมากจากแผนพฒนา
                  เศรษฐกิจภาคตะวันออกเดิม หรือ Eastern Seaboard และการแก้ปัญหาภาคการผลิตของประเทศด้วยการ
                   ั
                                                                                                    ิ่
                  พฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม จึงได้มีการปรับปรุงบริบทของการส่งเสริมการลงทุน โดยเพมเติมสิทธิ
                                                                                       ุ
                                                                     ื่
                                                                                 ั
                  ประโยชน์ในกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมการลงทุน เพอให้เกิดการพฒนาอตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยี
                  ระดับสูง นวัตกรรม การวิจัยและพฒนา รวมไปถึงการปรับปรุงและพฒนาโครงสร้างพนฐานของประเทศ
                                                                              ั
                                                ั
                                                                                            ื้
                  ให้เพยบพร้อมและมีความเชื่อมโยงกันทั้งระบบ โดยมีระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EEC) เป็นพนที่
                       ี
                                                                                                          ื้
                  เป้าหมายในการดึงดูดการลงทุนในอุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมระดับสูง
                                  โครงการระเบียงเศรษฐกิจพเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor : EEC)
                                                           ิ
                                                                                   ุ
                  เป็นโครงการที่จะเปลี่ยนโฉมภาคการผลิตของประเทศ โดยเน้นการสนับสนุนอตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยี และ
                  นวัตกรรมระดับสูง โดยรัฐบาลมีการให้สิทธิประโยชน์มากมายแก่นักลงทุนที่เข้ามาลงทุนใน EEC รวมถึงการ

                   ั
                                                                                         ุ
                                                              ุ
                                  ื้
                  พฒนาโครงสร้างพนฐานให้พร้อมต่อการลงทุน ซึ่งอตสาหกรรมและบริการในกลุ่มอตสาหกรรมเป้าหมายที่
                                                                      ุ
                  อาจจะเกิดการลงทุนใน EEC ได้ในระยะ 5 ปีแรกนั้น จะเป็นอตสาหกรรมที่ไทยมีฐานการผลิตอยู่แล้วหรือมี
                                 ั
                  ศักยภาพในการพฒนาสูง โดยจากการประชุมคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2559  ที่ได้มีมติเห็นชอบ
                            ั
                  โครงการพฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor Development) ตามที่
                                                                                   ื้
                                ั
                  ส านักงานสภาพฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) เสนอ ท าให้พนที่ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก
                  3 จังหวัด ซึ่งเป็นกลุ่มจังหวัดเป้าหมาย ได้แก่ จังหวัดระยอง ชลบุรี และฉะเชิงเทรา ที่จะพฒนาเป็นเขต
                                                                                                 ั
                  เศรษฐกิจการลงทุนพเศษที่เรียกว่า “ ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor : EEC) ”
                                    ิ
                  เนื่องจากปัจจุบันเป็นฐานการผลิตอตสาหกรรมหลักของประเทศ และมีศักยภาพสูงในการส่งเสริมให้เป็นฐาน
                                                ุ
                              ุ
                  การผลิต 10 อตสาหกรรมเป้าหมาย ที่เป็นกลไกขับเคลื่อนเศรษฐกิจเพออนาคต (New Engine of Growth)
                                                                             ื่
                  ทั้งนี้ เป็นการต่อยอด 5 อตสาหกรรมเดิมที่มีศักยภาพ (First S-curve) และการพฒนา 5 อตสาหกรรมอนาคต
                                                                                     ั
                                       ุ
                                                                                             ุ
                  (New S-curve) อตสาหกรรมเป้าหมายที่คาดว่าจะเข้ามาลงทุนใน EEC ในช่วง 5 ปีแรก ส าหรับการพฒนา
                                                                                                         ั
                                 ุ
                   ุ
                                                                  ุ
                  อตสาหกรรมใหม่ 5 ตัว ที่เรียกว่า New S-Curve ซึ่งเป็นอตสาหกรรมเป้าหมายในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของ
                                                                                                     ื่
                  ประเทศ เป็นการต่อยอดและสร้าง S-Curve ตัวใหม่ ซึ่งเป็นกลไกหลักในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจเพออนาคต
                  และเป็นเครื่องมือในการผลักดันให้ประเทศก้าวเข้าสู่ประเทศไทย 4.0 ซึ่งจะเป็นการต่อยอดจาก

                  5 อตสาหกรรมเดิม ได้แก่ อตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่ อตสาหกรรมอเล็กทรอนิกส์อจฉริยะ อตสาหกรรม
                                                                                                   ุ
                     ุ
                                                                                           ั
                                                                               ิ
                                                                    ุ
                                         ุ
                                                                                                   ุ
                  การท่องเที่ยวกลุ่มรายได้ดี และการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ การเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ และอตสาหกรรม
                                            ุ
                  แปรรูปอาหาร เนื่องจากเป็นอตสาหกรรม   ที่ไทยมีฐานการผลิตอยู่แล้วหรือมีศักยภาพในการพฒนาสูง
                                                                                                      ั
                  ผู้ประกอบการสามารถพัฒนาต่อยอดการผลิต  ได้ง่ายกว่า หรือใช้เงินลงทุนน้อยกว่า





            โครงการศกษาการจัดท าแนวทางการพัฒนาเพื่อการบรหารจัดการโซความเย็น (Cold Chain) ในสนคาพืชผักและผลไมของสถาบันเกษตรกรในพ้นที่ EEC และจังหวัดใกลเคียง
                                                                                                              ้
                                                   ่
                                           ิ
                  ึ
                                                                    ิ
                                                                                               ื
                                                                                ้
                                                                      ้
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52